Page 4 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ปีที่2 ฉบับที่ 14 ประจำเดือนธันวาคม 2562
P. 4
ขมิ้นชัน:สมุนไพรคู่ครัว
ยาอันดับแรกในการรักษาโรคท้องอืดท้องเฟ้อ
และ Champion Products ปี 2560-2564
ดร.ภญ.ดวงแก้ว ปัญญาภู
สีเหลืองอ่อนและกลุ่มเคอร์คิวมินอยด์ซึ่งเป็นสารสีเหลืองเข้ม
ทั้งน้ำมันระเหยง่าย และสารกลุ่มเคอร์คิวมินอยด์ต่างมีฤทธิ์
ต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบที่ดี จากฤทธิ์ดังกล่าว
ทำให้ขมิ้นชันมีผลดีต่อการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม แผลใน
ขมิ้นชันเป็นสมุนไพรที่ผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทย กระเพาะอาหาร และแก้อาการท้องอืดเฟ้อได้ดี
มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากมีประโยชน์ที่หลากหลาย
ทั้งในด้านการดูแลสุขภาพของทารกและหญิงหลังคลอด
ใช้เป็นเครื่องเทศเพิ่มสี กลิ่น รสให้กับอาหาร และใช้ทำสีย้อมผ้า
เช่นเดียวกับในต่างประเทศ อาทิ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา
บังคลาเทศ และอินโดนีเซีย ที่ปรากฏว่ามีประวัติการใช้ขมิ้นชัน
รักษาโรคหลายชนิดมาอย่างยาวนานเช่นกัน ขมิ้นชันเป็นยา
สมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในกลุ่มอาการระบบทาง
เดินอาหาร สรรพคุณขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ขมิ้นชันนับว่าเป็นพืชสมุนไพรที่มีประโยชน์หลากหลาย
ปัจจุบันมีความนิยมใช้ขมิ้นชันมากขึ้น เนื่องจากพบว่าสาร และมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง ประชาชนสามารถ
สำคัญในขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบ เลือกบริโภคได้ทั้งที่เป็นของสด หรือผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
ที่ดี สามารถใช้ป้องกันและรักษาโรคได้อย่างหลากหลาย ที่ปัจจุบันพบได้มากมายหลายรูปแบบทั้งส่วนของอาหาร
ขมิ้นชันมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Curcuma longa L. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยา และเครื่องสำอาง
อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นพืชล้มลุก อายุหลายปี เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีการใช้ยาหลายชนิด
สูง 30-90 ซม. เหง้ารูปไข่มีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออก เป็นประจำ หรือมีโรคที่เกี่ยวกับการอุดตันของระบบทางเดินน้ำดี
ด้านข้าง 2 ด้าน ตรงกันข้าม เนื้อในเหง้าสีเหลืองส้ม มีกลิ่นเฉพาะ ควรปรึกษาแพทย์และเภสัชกรก่อนใช้ยาจากขมิ้นชัน
เป็นส่วนที่ใช้ทำยาและอาหาร สารสำคัญในเหง้าขมิ้นชัน และหากเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปในรูปแบบอื่นๆ
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มน้ำมันระเหยง่ายซึ่งมี ควรอ่านฉลากให้ละเอียดถี่ถ้วน ก่อนตัดสินใจเลือกซื้อหรือใช้
คณะผู้จัดทำ
ที่ปรึกษา นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บรรณาธิการ นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บรรณาธิการรอง ดร.เภสัชกรหญิงอัญชลี จูฑะพุทธิ ที่ปรึกษากรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กองบรรณาธิการ ดร.เภสัชกรหญิงดวงแก้ว ปัญญาภู ภญ.สุภาพร ยอดโต ภญ.เกษวราภรณ์ วงษ์พิมพ์
นส.สุพินดา กิจทวี นายกฤษณะ คตสุข ภญ.นิตาภา อินชัย ภญ.ศตพร สมเลศ
พท.สุนิสา หลีหมุด พทป.ประดิษฐา ดวงเดช นายชูศักดิ์ เฮงเจริญ กลุ่มงานสื่อสารองค์กร
ท่านสามารถเข้าไปอ่านบทความและดาวน์โหลด กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
จุลสารฉบับอิเลคทรอนิกส์ ได้ที่
https://tpd.dtam.moph.go.th/index. @DTAM
php/news-ak/dtam-news-ak
และสามารถส่งข้อคิดเห็นมาที่ เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ
enewsletters.dtam@outlook.co.th อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทรศัพท์ 0-2591-7007 โทรสาร 0-2591-7007