Page 3 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ปีที่2 ฉบับที่ 13 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562
P. 3
“กัญชา”
พืชสมุนไพรสู่
การใช้ประโยชน์ทางการ
แพทย์แผนไทย
ภญ.อรปภา จันทร์หอม/พท.ป.วรรณิดา แก้วมาตย์
ณ เวลานี้คงไม่มีใครที่ไม่รู้จัก ในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อรักษาหรือการวิจัยได้ พ.ศ.2562
พืชสมุนไพร “กัญชา” (Cannabis sativa L.) จำนวน 16 ตำรับ และมีการให้บริการตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ในสถานบริการ
พืชสมุนไพรที่โด่งดังจากนโยบายทางการเมืองสู่ สุขภาพที่มีคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยแล้ว จำนวน 2 ตำรับ ได้แก่
การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ กัญชาเป็น 1) ตำรับยาศุขไสยาศน์ ใช้ในผู้ป่วยกลุ่มที่มีอาการนอนไม่หลับและเบื่ออาหาร
พืชสมุนไพรที่มีบันทึกการใช้ประโยชน์ 2) ตำรับยาทำลายพระสุเมรุ ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ทางการแพทย์มาอย่างยาวนาน พบได้จาก จากโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งปัจจุบันมีสถานบริการสุขภาพที่มีคลินิกกัญชา
บันทึกตามตำรายาไทยหรือศิลาจารึกต่าง ๆ ทางการแพทย์แผนไทยแล้ว จำนวน 26 แห่ง และกำลังขยายการบริการให้ครอบคลุม
เช่น ศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล 76 จังหวัด ภายในปี พ.ศ.2563 นี้ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการคลินิก
มังคลาราม ตำราโอสถพระนารายณ์ และ กัญชาทางการแพทย์แผนไทย
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เป็นต้น จนถึง อีกทั้งกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้จัดทำโครงการ
ปัจจุบัน ก็พบว่ามีการใช้ในการประกอบ ศึกษาวิจัยตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ จากตำรับยาหมอพื้นบ้านที่ผ่าน
อาหาร รวมถึงการใช้ในทางการแพทย์พื้นบ้าน การรับรองตำรับโดยคณะกรรมการรับรองตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสม โดยโครงการ
โดยพบว่ามีบันทึกการใช้ตำรับยาที่มี ติดตามลักษณะการใช้และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้น้ำมันกัญชาในทางการแพทย์
กัญชาปรุงผสมอยู่ของหมอพื้นบ้าน ในการ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (น้ำมันเดชา) ประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่
รักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดฟัน คลายเครียด ได้รับน้ำมันกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
ลดผมร่วง รวมทั้งใช้เป็นยาคุมกำเนิด และการแพทย์ผสมผสาน และโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน
แต่เนื่องจากกัญชาเป็นพืชสมุนไพรที่เคย 22 แห่ง นอกจากนี้ยังมีโครงการวิจัยที่กำลังเสนอคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย
ถูกห้ามใช้ เนื่องจากถูกจัดให้เป็นยาเสพติดให้ ในมนุษย์ ได้แก่ โครงการวิจัยศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยจากการใช้
โทษประเภทที่ 5 ตาม พรบ.ยาเสพติดให้โทษ ตำรับยาศุขไสยาสน์ และตำรับทำลายพระสุเมรุ เพื่อขยายผลในการนำตำรับยา
พ.ศ.2522 ทำให้ไม่สามารถนำกัญชาใช้ใน ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่เสนอเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติในลำดับต่อไป
การรักษาโรคได้ในระยะเวลาหนึ่ง แต่ขณะนี้
ได้มีการอนุญาตให้นำมาใช้เพื่อการรักษาโรค
และเพื่อการศึกษาวิจัยได้ ตาม พรบ.
ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562
ปัจจุบัน ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่องกำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษ