Page 2 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ปีที่2 ฉบับที่ 13 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562
P. 2
“ภูมิปัญญาการนวด....
มรดกอันล้ำค่าของไทย”
กฤษณะ คตสุข, ธนดล มางาม
ศิลปะ มีหลักการระหว่างผู้นวดและผู้ถูก
นวด ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อร่างกายและ ลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง การนวด
จิตใจ ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับแล้วว่า พื้นบ้านเป็นการนวดเพื่อรักษาโรคหรือ
ระบบการนวดไทยในประเทศไทยแบ่งออก อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่างกาย ไม่มี
เป็น 2 ระบบใหญ่ คือ 1.การนวดแบบ การนวดเพื่อการผ่อนคลาย และเป็น
ราชสำนัก (เป็นการนวดโดยใช้มือ) 2. การนวด ที่พึ่งในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
แบบเชลยศักดิ์ (เป็นการนวดโดยใช้ทั้งมือ มาเป็นเวลาช้านาน
และเท้า) การนวดแบบแผนไทยหรือ ประโยชน์ของการนวด อาทิเช่น
การนวดไทย ได้รับการฟื้นฟูทั้งในเรื่อง ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ เพิ่มระบบ
องค์ความรู้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์ การไหลเวียนโลหิตและน้ำเหลือง กระตุ้น
อักษรและมาตรฐานการนวด ทำให้เกิด ระบบประสาท เพิ่มประสิทธิภาพของระบบ
ปัจจุบันการใช้ภูมิปัญญาการนวด การยอมรับจนเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน ทางเดินหายใจ ฟื้นฟูสุขภาพของระบบกล้ามเนื้อ
ในประเทศไทยมี 2 ระบบใหญ่ คือการนวด โดยการนวดแผนไทยมีวัตถุประสงค์คือ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบประสาท
แบบแผนไทยและการนวดแบบพื้นบ้าน การนวดเพื่อผ่อนคลายหรือที่เรียกว่า ทำให้รู้สึกสบายคลายเครียด ซึ่งมีส่วน
การนวดแบบแผนไทย เป็นองค์ความรู้ นวดสุขภาพและการนวดเพื่อการรักษา กระตุ้นภูมิคุ้มกันโรค อย่างไรก็ตาม มีข้อ
ภูมิปัญญาที่มีลัษณะเฉพาะ แตกต่างจาก การนวดแบบพื้นบ้าน เป็นภูมิปัญญา ควรระวังเกี่ยวกับการนวด คือ ไม่ควรนวด
ภูมิปัญญาด้านอื่นๆ โดยมีการบันทึกวิธี ที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ หลังจากการรับประทานอาหารอิ่ม ไม่นวด
การนวดไว้อย่างชัดเจน เช่น แผ่นศิลา มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของคน เมื่อมีอาการฟกช้ำตามผิวหนังหรือมีอาการ
จารึกที่วัดโพธิ์ เป็นต้น การนวดแบบแผนไทย ในท้องถิ่นที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน อักเสบซ้ำซ้อน มีอาการอักเสบติดเชื้อ มีไข้เกิน
ได้รับการฟื้นฟูให้เข้ามาอยู่ในสังคมไทย เป็นเวลานาน ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย 38 องศาเซลเซียส ร่วมกับอาการปวด บวม
จนสามารถนำมาใช้ในการประกอบอาชีพ ต่างมีวิธีการนวดที่เป็นแบบฉบับของตนเอง แดงร้อน ผู้ที่ประสบอุบัติเหตุใหม่ ๆ และ
เข้ามาช่วยในการกระตุ้นเศรฐกิจ การนวดพื้นบ้านมีความหลากหลาย ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในกรณีผู้สูงอายุ
มีการพัฒนาภูมิปัญญาการนวดแบบ แตกต่างกันไปตามภูมิภาคต่าง ๆ แม้ว่าจะ ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง
แผนไทยให้เป็นธุรกิจเพื่อสุขภาพสำหรับ ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่ามีรากมาจากที่ใด และโรคเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด
นักท่องเที่ยว นับเป็นทุนทางสังคมด้าน แต่ประเทศไทยได้สืบสานองค์ความรู้ “ผู้ที่ต้องการนวดควรคำนึงถึง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะช่วยในการดูแล ภูมิปัญญาการนวดแบบพื้นบ้านจากรุ่นสู่รุ่น ความปลอดภัยโดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหา
สุขภาพและเสริมรายได้ให้กับชุมชน จนเป็นที่ยอมรับและรู้จักกันทั่วไป สุขภาพควรปรึกษาแพทย์ หรือแพทย์แผนไทย
เรียกว่า การนวดไทย เป็นการตรวจ ต่อมาได้มีการประยุกต์ปรับใช้ให้เหมาะสม ให้แน่ใจก่อนทุกครั้งว่าสามารถรับ
การวินิจฉัย และการบำบัดโรคด้วยการกด กับสังคมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนจนมี การนวดได้”
คลึง บีบ ทุบ สับ ประคบ หรือวิธีการนวด
อื่นใดตามแบบแผนของการประกอบ
โรคศิลปะ เป็นภูมิปัญญาอันล้ำค่าของคนไทย ประโยชน์เชิงคุณค่าและวัฒนธรรมของการใช้ภูมิปัญญาการนวด
ที่มีประวัติและเรื่องราวสืบทอดกันมา ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ของชาติ ค่านิยม ความเชื่อและวัฒนธรรมที่ดีงามมาเป็น
ช้านาน มีบทบาทสำคัญในการรักษาโรค กลไกในการพัฒนาบุคคล ครอบครัว ชุมชน สามารถนำมาเกื้อกูลส่งเสริมให้
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นวัฒนธรรม คนไทยมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและช่วยสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ
และวิถีชีวิตของคนไทยที่ดูแลและ และสังคมไทย ทั้งนี้เพื่อการสร้างสรรค์คุณค่าและการคงอยู่ของวัฒนธรรมไทย
ช่วยเหลือกันเองภายในครอบครัว เช่น สามี ในการสร้างความอยู่ดีมีสุขให้กับคนไทยอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความ
นวดให้ภรรยา ภรรยานวดให้สามี
ลูกหลานนวดให้พ่อแม่หรือปู่ย่าตายาย สมดุลทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร
การนวดไม่ใช่เพื่อการรักษาความเจ็บป่วย ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้บริบทการ
เท่านั้น แต่เป็นกระบวนการดูแลสุขภาพ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
และรักษาโรคโดยอาศัยการสัมผัสอย่างมี