Page 37 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 37

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  253




                 2.1  การวิเคราะห์ข้อมูล                              ผลกำรศึกษำ
                 การวิเคราะห์ทางสถิติน�าข้อมูลที่ได้จากกลุ่ม     1. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพ

            ตัวอย่างมาตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน จากนั้น     กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาสหัศธาราและกลุ่ม
            น�าไปวิเคราะห์ด้วยวิธีทางสถิติส�าเร็จรูป ก�าหนดระดับ  ตัวอย่างที่ได้รับยาหลอกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
            นัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้  ร้อยละ 83.9 และ 64.5 ตามล�าดับ มีอายุเฉลี่ย 66.71

                   1) ใช้สถิติเชิงพรรณนา (descriptive sta-  ± 6.23 ปี และ 65.26 ± 8.25 ปี ตามล�าดับ มีระยะ
            tistics) โดยใช้สถิติร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย   เวลาการเป็นโรคเบาหวานเฉลี่ย 14.29 ± 4.89 ปี และ

            (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เพื่อ  11.35 ± 4.29 ปี ตามล�าดับ มีโรคร่วม ได้แก่ ความดัน
            วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับโรคประจ�าตัวและ  โลหิตสูง ร้อยละ 71 และ 61.3 ตามล�าดับ และไขมันใน
            ข้อมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพ น�้าหนัก ดัชนีมวลกาย (BMI)   เลือดสูง ร้อยละ 61.3 และ 58.1 ตามล�าดับ (Table 1)

            น�าเสนอโดยตารางแจกแจงความถี่และค�านวณเป็น        2. ประสิทธิผลยาสหัศธาราต่อผู้ที่มีภาวะเส้น
            ร้อยละ                                      ประสาทส่วนปลายเสื่อมบริเวณขาส่วนล่างในผู้ป่วย

                   2) ใช้สถิติเชิงอนุมาณ เพื่อประเมินผลการ  เบาหวานชนิดที่ 2
            รักษาผู้ที่มีภาวะเส้นประสาทส่วนปลายเสื่อม เปรียบ       2.1 ผลการเปรียบเทียบการประเมิน The
            เทียบก่อนและหลังของผู้ป่วยแต่ละราย เปรียบเทียบ  Michigan Neuropathy Screening Instrument

            ผลต่างของคะแนนภายในกลุ่มเดียวกันโดยใช้สถิติ   (MNSI) ระหว่างก่อนและหลังการรับประทานยา เพื่อ
            paired t-test และ เปรียบเทียบก่อนและหลังการได้  ใช้คัดกรองภาวะความผิดปกติของระบบประสาทส่วน
            รับยาสหัศธาราและกลุ่มควบคุมของผู้ป่วยแต่ละราย   ปลายในผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยา

            เปรียบเทียบผลต่างของคะแนนระหว่างกลุ่มโดยใช้  สหัศธาราและยาหลอกมีคะแนนการซักประวัติก่อน
            สถิติ independent t-test ประเมินความสัมพันธ์  การรับประทานยาเฉลี่ย 7.16 ± 1.24 และ 6.03 ± 0.98
            ของสัดส่วนวิเคราะห์โดยใช้สถิติ chi-square test   ตามล�าดับ และหลังการรับประทานยาในวันที่ 28 เฉลี่ย

            หรือ fisher exact test ประเมินผลการเปลี่ยนแปลง  7.13 ± 1.26 และ 6.03 ± 0.98 ตามล�าดับ อย่างไรก็ตาม
            ของคะแนนระหว่างกลุ่ม โดยมีการวัดซ�้าค่าสังเกตของ  ค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของคะแนนการซักประวัติ

            ตัวแปรในการศึกษาเดียวกัน (cluster/subject) ที่พบ  ระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาสหัศธาราและกลุ่มยา
            ว่าค่าสังเกตมีความสัมพันธ์กัน (correlated data) ใช้  หลอกไม่แตกต่างกัน ในส่วนคะแนนการตรวจร่างกาย
            ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีการติดตามระยะยาว (longi-  ก่อนการรับประทานยาเฉลี่ย 4.18 ± 0.94 และ 3.31 ±

            tudinal data) โดยใช้สถิติสมการการประมาณค่านัย  0.54 ตามล�าดับและหลังการรับประทานยาในวันที่ 28
            ทั่วไป (generalized estimating equation: GEE)   เฉลี่ย 3.82 ± 0.82 และ 3.31 ± 0.54 ตามล�าดับ อย่างไร

            โดยทุกการเปรียบเทียบก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่   ก็ตามค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของคะแนนการตรวจ
            (p-value < 0.05)                            ร่างกายระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาสหัศธาราและ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42