Page 20 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 20

452 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           อาการของโรคดังกล่าวได้  จึงน่าจะสามารถใช้เป็นทาง  การป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน อันจะทำาให้
           เลือกหนึ่งในการรักษาโรคที่พบบ่อยนี้ โดยควรการ  ภาพลักษณ์ของการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเสีย

           ทำาการศึกษาเพิ่มเติมในกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้น และ  หายโดยไม่สมควรด้วย เรื่องที่เก้า การศึกษาฤทธิ์ต้าน
           ศึกษาโดยมีกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อให้ผลการศึกษา  อนุมูลอิสระและพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตก
              ้
           มีนำาหนักน่าเชื่อถือมากขึ้น รวมทั้งศึกษากลไกการ  จากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง เป็นการ
           ออกฤทธิ์ของวิธีการศึกษานี้ต่อไปด้วย เรื่องที่หก การ  ศึกษาที่มีลำาดับขั้นตอนตั้งแต่การศึกษาความต้องการ

           เปรียบเทียบประสิทธิผลของการฝังเข็มศีรษะรักษา  ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการทดสอบการ
           อาการปวดหลังส่วนล่างด้วยเทคนิคการกระตุ้นเข็ม  ใช้และความพึงพอใจของผู้ใช้ นับเป็นตัวอย่างของ

           ด้วยมือและการกระตุ้นเข็มด้วยไฟฟ้า: การทดลอง  การศึกษาเพื่อใช้ประโยชน์จากบางส่วนของผลไม้ที่
           แบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม พบว่าการฝังเข็มที่ศีรษะ  ใช้บริโภคทั่วไปอย่างสับปะรด ผลการศึกษาสามารถ
           และกระตุ้นทั้ง 2 วิธี สามารถลดอาการปวดหลังได้   นำาไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อจำาหน่าย

           โดยไม่มีความแตกต่างกัน ผลการศึกษานี้ยังเป็นเพียง   ได้ต่อไป
           การศึกษาเบื้องต้น กลุ่มตัวอย่างเพียง 20 คน ควร     เรื่องที่สิบ การศึกษาคุณภาพเครื่องยาสารส้ม

           ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้มีข้อมูลเพียงพอสำาหรับกำาหนด  สะตุ เป็นอีกการศึกษาหนึ่งที่เพิ่มพูนความรู้พื้นฐาน
           เป็นแนวทางเวชปฏิบัติได้ต่อไป                ของสมุนไพรประเภทธาตุวัตถุคือสารส้ม ที่พบว่า
                เรื่องที่เจ็ด การศึกษาชุดที่เหมาะสมสำาหรับผู้รับ  สารส้มที่จำาหน่ายในท้องตลาดมีค่าวิเคราะห์ทางเคมี

           บริการฝังเข็ม คลินิกแพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์  ใกล้เคียงกับสารส้มที่ยังไม่ได้สะตุ โดยอาจเกิดจาก
           กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล      การสะตุไม่สมบูรณ์หรือการเก็บสารส้มสะตุอย่างไม่

           มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการศึกษาในเรื่องพื้น ๆ ที่น่า  เหมาะสม จำาเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขโดยเก็บในภาชนะ
           สนใจ โดยการรับฟังความคิดเห็นทั้งจากผู้ให้และผู้รับ  ที่ปิดสนิทและป้องกันความชื้นอย่างถูกต้อง  เรื่องที่
                                                                                          ้
           บริการ ตามหลักการของการออกแบบเครื่องแต่งกาย  สิบเอ็ด การเตรียมยาแคปซูลจากสารสกัดนำาของ
           เพื่อให้ได้ชุดที่เหมาะสมกับผู้รับบริการฝังเข็ม ซึ่งพบ  ตำารับยาจันทน์ลีลา เป็นตัวอย่างที่ดีของการพัฒนา
           ว่าชุดที่ออกแบบมาควรมีการวิจัยเพิ่มเติมให้เหมาะ  ยาสมุนไพรให้มีรูปแบบที่ทันสมัยขึ้น และน่าจะ
           สมยิ่งขึ้น เรื่องที่แปด การศึกษาฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์  ทำาให้สามารถพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของยา

           ของสารสกัดปอปิด เป็นการศึกษาที่น่าสนใจ เพราะ  สมุนไพรให้น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น เป็นการยกสถานะจาก
           ในวงการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร มีมายาคติว่า   ระดับประเทศไทย 1.0 เป็น 2.0 เรื่องที่สิบสอง ความ
           สมุนไพรเป็นสิ่งที่ได้จากธรรมชาติจึงปลอดภัย ซึ่ง  รู้และทัศนคติที่เกี่ยวกับการใช้กัญชาในการรักษาโรค

           ไม่เป็นความจริง ดังกรณีพบอันตรายร้ายแรงของ  ของประชาชนในจังหวัดพิษณุโลก เป็นการศึกษาเชิง
           มะเกลือที่ทำาให้ตาบอด ใบขี้เหล็กทำาให้ตับแข็ง เป็นต้น   สำารวจ ไม่มีการศึกษาเชิงคุณภาพเช่น   การสัมภาษณ์

           การศึกษาสารสกัดผลปอปิดนี้ ได้ข้อมูลเบื้องต้นเรื่อง  เชิงลึก การอภิปรายกลุ่ม การสังเกตการณ์ ทำาให้ต้อง
           ความปลอดภัยและการเตือนภัยสมุนไพรแก่ประชาชน   พิจารณาผลการศึกษาด้วยความรอบคอบ
           ที่ผู้เกี่ยวข้องควรให้ความสนใจ และนำาไปเป็นข้อมูลใน     เรื่องที่สิบสาม สมุนไพรในงานสาธารณสุข
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25