Page 32 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 32

254 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             โดยเฉพาะการใช้เห็ดเป็นยา (67.1%)  แต่เนื่องจาก
                                         [77]
             ในปัจจุบันมีการใช้เทคนิคทางด้านชีววิทยาโมเลกุล
             เข้ามาช่วยในการจัดจำาแนก ทำาให้มีการปรับปรุงและ

             เปลี่ยนแปลงการจัดจำาแนกเห็ดในสกุลนี้ใหม่ ทำาให้
             เกิดสกุลและชนิดใหม่โดยที่เห็ดพิมานหรือซางฮวงใน

             สกุล Phellinus ได้มีการจัดจำาแนกใหม่ไม่น้อยกว่า
             10 สกุล แต่สกุลที่สำาคัญ คือ สกุลฟิลินัส (Phellinus)   ภาพที่ 3 เห็ดซางฮวงชนิด Sanghuangporus (ด้านหน้า)
             สกุลทรอปิโคพอรัส (Tropicoporus) และสกุลซางฮวง

             พอรัส (Sanghuangporus) [5,78]  ดังภาพที่ 1-6
                 จากรายงานเดิมของพิพิธภัณฑ์เห็ดมีฤทธิ์ทาง

             ยา ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบเห็ดในกลุ่มนี้ไม่
             น้อยกว่า 100 ชนิด อาจต้องทำาการทบทวนการศึกษา




                                                         ภาพที่ 4 เห็ดซางฮวงชนิด Sanghuangporus (ด้านหลัง)
















             ภาพที่ 1 เห็ดซางฮวงชนิด Phellinus rimmosus (Brot.)   ภาพที่ 5 เห็ดซางฮวงชนิด Tropicoporus linteus (Berk.
                    Pilat (ด้านหน้า)                            & Curt.) Teng (ด้านหน้า)


















             ภาพที่ 2 เห็ดซางฮวงชนิด Phellinus rimmosus (Brot.)   ภาพที่ 6 เห็ดซางฮวงชนิด Tropicoporus linteus (Berk.
                    Pilat (ด้านหลัง)                            & Curt.) Teng (ด้านหลัง)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37