Page 30 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 30

252 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             nus igniarius มีชื่อพื้นเมืองว่า “araq’’ เมื่อนำามา  ภาษาไทยว่า “เห็ดพิมาน’’ หรือ “เห็ดกระถินพิมาน’’
             ผสมกับยาเส้นเรียกว่า “iqmik’’ หมายถึงของที่เอาเข้า  แต่เมื่อได้มีการจัดประชุมหมอยาพื้นบ้านพบว่าเห็ด
             ปาก มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า “blackbull’’ [57-58]   พิมานในภาษาพื้นบ้านหมายถึงเห็ดในสกุล Phellinus

             พบว่ามีการใช้ในกลุ่มประชากรที่มีอายุเกิน 18 ปีขึ้น  เช่น Phellinus linteus, Phellinus tuberculosis,
             ไป ร้อยละ 50-80 นอกจากนี้ยังมีการแบ่งปันยาเส้น  Phellinus igniarius, Phellinus pomaeous

             ที่เคี้ยวแล้วระหว่างผู้ใหญ่และเด็ก พบว่าเด็กที่มีอายุ  เป็นต้น การใช้เห็ดพิมานหรือเห็ดซางฮวงเป็นยาใน
             น้อยที่สุดที่เคี้ยวยาสูบผสมเห็ดซางฮวงมีอายุเพียง 5   ประเทศไทยพบในบันทึกใบลานหลายลาน เช่น
             ขวบ  และยังพบว่าผู้หญิงที่อยู่ในระหว่างตั้งครรภ์       7.1 ตำารายาจากใบลาน วัดมหาชัย จังหวัด
                [59]
             มีการเคี้ยวยาเส้นผสมเถ้าเห็ดซางฮวงถึงร้อยละ 82    มหาสารคาม เล่ม 1  มีตำารับการใช้เห็ดพิมานหรือ
                                                                        [64]
             เห็ดซางฮวงที่เผาแล้วได้เถ้าสีขาว เป็นผงที่ละเอียด  เห็ดซางฮวงเข้ายาลดไข้ เป็นยาเย็น “เห็ดพิมาน ๑
                                                             ้
             มาก มีบางส่วนที่กลายเป็นถ่านสีดำา บางคนนำาเอา  ฮากนำาแน่ (Thunbergia hossei C. B. Clarke) ๑
             ถ่านมาป่นใส่ในเถ้า แต่ใส่เพียงเล็กน้อย จากนั้นใช้ใบ  ฮากดอกซ้อน [นางแย้ม Clerodendrum chinense
             ยาสูบห่อเถ้าก่อนนำาไปเก็บในตลับที่บรรจงทำาไว้อย่าง  (Osbeck) Mabb.] ๑ ฮากเทียนดำา (Nigella sativa

             สวยงามที่ทำาขึ้นจากเขาสัตว์หรือไม้ จากการวิเคราะห์  L.) ๑ หัวพันมหา (ดองดึง Gloriosa superba L.) ๑
                                                                         ้
             พบว่าเถ้าเห็ดซางฮวงมีองค์ประกอบของแมกนีเซียม   แมงวัน ๓ ตัว ฝนใส่นำาเหล้าเด็ด ต้มแลฯ’’ เห็ดพิมาน
             โปแตสเซียม แคลเซียมและฟอสฟอรัสในปริมาณที่   ในตำารับนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Phellinus tubercu-

             สูงมาก [60-61]  ผู้หญิงนิยมนำาไปเคี้ยวเล่น ส่วนผู้ชายนิยม  losis Niemela
             นำามาอมไว้ข้างแก้ม ชนพื้นเมืองในเขตอลาสกาที่อาศัย       7.2 ตำารายาจากใบลาน วัดมหาชัย จังหวัด
             อยู่ตามแนวชายฝั่ง นำาเห็ดซางฮวงชนิดPhellinus   มหาสารคาม เล่ม 4  ตำารับรักษาไข้ “ให้เอาจันแดง
                                                                        [65]
             igniarius มาใช้แทนยาสูบ เชื่อว่าจะทำาให้มีพละกำาลัง   [Dracaena cochinchinensis (Lour.) S.C.Chen.]
             แข็งแรง [61]                                เห็ดพิมาน เห็ดขาม [Ganoderma philippii (Bres.

                 6.  เครือรัฐออสเตรเลีย ชนพื้นเมืองของ   & Henn. ex Sacc.) Bresadola] ฮากหวดข้าน้อย
             ออสเตรเลียใช้เห็ดในสกุล Phellinus เป็นยาโดยนำา  [Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.] ฮาก
             มาเผาให้เป็นควันแล้วสูดควันเข้าไป เพื่อรักษาอาการ  ถั่วภู [Psophocarpus tetragonolobus (L.) DC.]

             เจ็บคอ นำาดอกเห็ดที่เผาจนไหม้เกรียมมาขูดส่วนผิว  ฝนกินดี คายฮ้อยคำาบาท’’
                              ้
             เบา ๆ นำาผงที่ได้ไปใส่นำาสะอาด นำามาดื่มแก้ไอ เจ็บคอ         อีกตำารับหนึ่ง “เอาเห็ดไม้จิกเผาแซ่ยาพังคา
             เจ็บหรือแน่นหน้าอก ลดไข้และแก้อาการท้องร่วง [62]  กิน ยาปวดท้องดิ้นลง’’ เห็ดไม้จิกมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า
                 7.  ประเทศไทย เห็ดซางฮวงมีชื่อเรียกใน   Phellinus igniarius (L.) Quél. ยาแก้เจ็บคอ “เห็ด
             ประเทศไทยว่า “เห็ดพิมาน’’ ที่เรียกว่าเห็ดพิมาน  พิมาน กับไลปลาฝา (หางปลากระเบน) กับ ฮากเพ็ก

             เนื่องจากในหนังสือเห็ดในประเทศไทย ของสำานักงาน  [Vietnamosasa pusilla (A.Chev. & A.Camus)
             ราชบัณฑิตยสภา  ได้มีรายงานเกี่ยวกับเห็ดในสกุล   T.Q.Nguyen] ฝนใส่เหล้าให้กินดีแล’’ ใช้เข้ายาแก้ฝี
                          [63]
             Phellinus ชนิด P. rimosus เป็นครั้งแรก โดยให้ชื่อ  ชนิดต่าง ๆ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35