Page 11 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 11

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                        ปีที่ 18  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2563       Vol. 18  No. 1  January-April  2020




                                                                              บรรณาธิการแถลง



              บรรณาธิการแถลง







                   วารสารฉบับนี้ตีพิมพ์เผยแพร่ในช่วง      ผู้ป่วยมะเร็งที่รับตำารายาสมุนไพรของนายแสงชัย
              สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งสร้าง   แหเลิศตระกูล น่าสนใจว่าผู้ป่วย 478 ราย ที่รับยา

              ผลกระทบกับประชาชนทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยที่  สมุนไพรครั้งแรก ตอบว่าตนเองหายขาด 2 ราย, 225
              มีมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของ    ราย (47.7%) ตอบว่าดีขึ้น และ 174 ราย (36.40%)
              โรคจากเบาไปหาหนัก; ตั้งแต่การประกาศห้ามเดิน  ตอบว่าเหมือนจะดีขึ้น น่าเสียดายที่การศึกษานี้มิได้

              ทางไปยังประเทศที่มีการเกิดโรค, การปิดสถานศึกษา   ศึกษาว่าอะไรคือเหตุปัจจัยที่ทำาให้ผู้ป่วยรู้สึกเช่นนั้น
              ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร และอื่น ๆ, การกักตัวผู้  จึงตอบคำาถามสำาคัญไม่ได้ว่าเหตุใดประชาชนจำานวน
              เดินทางมาจากเขตแพร่ระบาดของโรค, จนกระทั่งมี  ไม่น้อยจึงแตกตื่นกับสมุนไพรในกรณีนี้

              การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน, และการห้ามออก        เรื่องที่สาม ความปลอดภัยและประสิทธิผล
              จากเคหสถานในช่วง 22.00-04.00 น. เป็นต้น. แต่ข้อ  เบื้องต้นของตำารับยาครีมเหลืองสุราษฎร์ (เหลือง
                                                                      ้
              จำากัดต่าง ๆ ตามที่กล่าวมาแล้ว ไม่เป็นอุปสรรคแก่การ  นรินทร์) และนำามันทองนพคุณในการรักษาแผล
              ดำาเนินการของวารสารที่จะต้องออกให้ทันตามกำาหนด   เบาหวานและแผลกดทับ พบว่ายามีความปลอดภัย
              โดยมีนิพนธ์ต้นฉบับถึง 13 เรื่อง และบทปริทัศน์ 2   และมีประสิทธิผลเบื้องต้น แต่ยังมีข้อจำากัดสำาคัญใน

              เรื่อง                                      การศึกษา ได้แก่ เป็นการศึกษาในโรงพยาบาลถึง 14
                   นิพนธ์ต้นฉบับเรื่องแรก ประสิทธิผลการพอก  แห่ง และติดตามผลการรักษาได้เพียง 19 ราย จาก

              ตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่ง  กลุ่มตัวอย่าง 35 ราย สมควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดย
              ตับใต้ชายโครงข้างขวา ตามแนวทางเวชปฏิบัติการ  มีการออกแบบการศึกษาให้ดีขึ้น  เรื่องที่สี่ ประสิทธิผล
              ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้านการแพทย์  เบื้องต้นของการบูรณาการอาหารตามหลักการแพทย์

              แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ          แผนไทยร่วมกับโภชนบำาบัดทางการแพทย์สำาหรับ
              การแพทย์ผสมผสาน พบว่าตำารับยาห้ารากสามารถ   ผู้ที่มีไขมันเลือดสูง พบเพียงค่า LDL Cholesterol
              ใช้พอกบรรเทาปวดในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย  ที่แตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญ ผู้วิจัยจึงสรุปว่าวิธีการ

              แตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม   ที่เสนอ สามารถลดระดับไขมันสำาหรับผู้ที่มีภาวะไข
                                               ้
              แต่เพราะเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองจึงมีนำาหนักไม่  มันเลือดสูง ซึ่งความจริงแล้วไม่สามารถสรุปได้เช่น
              มาก โดยเฉพาะการดูแลรักษาอื่นใน 2 กลุ่มยังแตกต่าง  นั้น เพราะค่าไขมันที่แตกต่างเป็นเพียงค่าไขมันชนิด

              กันด้วย  เรื่องที่สอง การใช้สมุนไพรและประสบการณ์   เดียว และข้อสำาคัญการศึกษานี้มีจุดอ่อนมาก ตั้งแต่
              อาการของผู้ป่วยมะเร็ง: การสำารวจภาคตัดขวางกลุ่ม  มิได้แสดงการคำานวณขนาดตัวอย่าง, นิยามศัพท์ของ


                                                       1
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16