Page 1 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือนพฤษภาคม 2562
P. 1

บัว...ไม้ดอกมากคุณค่า                                                                 กรมการแพทย์แผนไทยและ

                                                                                                                                                                                   การแพทย์ทางเลือก

                                                                            ราชินีแห่งไม้นํ้า                                                                 Department of Thai Traditional and Alternative Medicine



                                                                                                     พท.สุนิส� หลีหมุด
                                                                                                                                                                                     ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือน พฤษภ�คม 2562  DTAM Newsletters

                เดือนนี้มีวันสำาคัญทางพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชา โดยเป็นวันที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน
           ในวันขึ้น 15  คำ่า เดือน 6 ซึ่งปีนี้ตรงกับวันที่ 18 พฤษภาคม ในวันนี้พุทธศาสนิกชนมีการทำาบุญตักบาตร และเวียนเทียน เพื่อเป็นการ
           น้อมรำาลึกถึงพระวิสุทธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีต่อมวลมนุษยชาติ
                ดอกบัว ถือเป็นสัญลักษณ์ของคุณงามความดี ตามพุทธประวัติพบว่า บัวมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าทั้งการประสูติ ตรัสรู้

           และปรินิพพาน พุทธศาสนิกชนจึงนิยมนำาดอกบัวไปบูชาพระและใช้ในการประกอบพิธีทางพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีความเชื่อที่ว่า
           ดอกบัวสามารถใช้เป็นยามาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ซึ่งมีตำานานกล่าวว่า หมอชีวกโกมารภัจจ์ได้ปรุงยาจากดอกบัว ถวายแด่องค์สมเด็จ
           พระพุทธเจ้า เพื่อแก้อาการอ่อนเพลีย
                บัว มีหลายสายพันธุ์ ในที่นี้ขอกล่าวถึง บัวหลวง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nelumbo nucifera Gaertn. จัดอยู่ในวงศ์ Nelumbonaceae   “กัญชา”

           สารสำาคัญที่พบในเกสรตัวผู้ คือ สารกลุ่มเฟลโวนอยด์ และสารแอลคาลอยด์์ ที่มีการศึกษาพบว่ามีฤทธิ์คลายความซึมเศร้า ช่วยบรรเทา                                                                                     น�ยแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ
           ความเสียหายขณะหัวใจขาดเลือด และพบว่าสารสกัดจากกลีบดอกบัวสามารถลดระดับนำ้าตาลในเลือดของหนูทดลองได้ โดยไม่พบ             การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย                                     อธิบดีกรมก�รแพทย์แผนไทยและก�รแพทย์ท�งเลือก
           ความเป็นพิษต่อร่างกาย
                ดอกบัว นอกจากเป็นดอกไม้มงคลแล้ว ยังมีคุณค่าทางยาและสามารถใช้เป็นอาหารได้ อาทิ รากบัว สามารถ                                 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้มีการเตรียมการเรื่องการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทย โดยต้นเดือนเมษายน
           นำามาเชื่อมแห้งกินเป็นของหวานหรือนำาไปต้มกับนำ้าตาลกรวด แก้ร้อนใน ชาวอินเดีย จะให้เด็กดื่มนำ้ารากบัวเพื่อระงับอาการ                                              ที่ผ่านมา กรมการแพทย์แผนไทยฯ ได้จัดตั้งสำานักงานเฉพาะกิจ เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานที่มีความรวดเร็ว คล่องตัว และมี
           ท้องร่วง ไหลบัว สามารถนำามาประกอบอาหาร โดยมากจะนำามาแกงส้ม แกงเลียง สายบัว สามารถปรุงอาหารแทนผัก ชาวอินเดีย            ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนการนำากัญชาและกระท่อมสู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย

           กินเพื่อแก้อาการท้องร่วง ใบบัว นิยมนำามาห่อข้าว หรือนำามาหั่นฝอย ตากแดดจนแห้ง จึงนำามาใช้มวนเพื่อสูดดมกลิ่น บรรเทา                       และการศึกษาวิจัยในประเทศไทย
           อาการหวัด แก้ไอ และแก้ไข้ หรือสามารถชงดื่มแทนนำ้าชา แก้ร้อนในกระหายนำ้าได้เป็นอย่างดี เม็ดบัว เหมาะกับคนที่มีอาการอ่อนเพลีย    ซึ่งภารกิจของสำานักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย มีการทำางานในรูปแบบคณะกรรมการ เพื่อดำาเนิน
           หรือในหญิงตั้งครรภ์แล้วมีอาการแพ้ท้อง เพราะมีสารอาหารที่สำาคัญคือ โปรตีน และสารอาหารหลายชนิด ให้พลังงานในร่างกาย       การในด้านการปลูกและการผลิตตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาและกระท่อม ด้านการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรฯ ด้านการวิจัยและ
           และช่วยต้านอนุมูลอิสระ ดีบัว เป็นส่วนของต้นอ่อนที่อยู่ในเม็ดบัว มีรสขมจัด มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ สามารถ   พัฒนาวิชาการฯ และด้านการประเมินรับรองตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาและกระท่อม และการใช้ประโยชน์ในหน่วยบริการสาธารณสุข
           เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจได้ เกสรบัว เป็นยาบำารุงกำาลัง ทำาให้ร่างกายสดชื่น บำารุงเลือด บำารุงหัวใจ บำารุงครรภ์ แก้อาการปวดศีรษะ    ของรัฐและเอกชน
           วิงเวียน มีอาการหน้ามืดคล้ายจะเป็นลม เกสรบัวใช้เป็นส่วนผสมในยาหอม                                                           ปัจจุบันคณะกรรมการด้านการปลูกและการผลิตตำารับยากัญชาและกระท่อมเพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย
           เมื่อชงนำ้าดื่ม จะช่วยให้ชุ่มชื่นใจ ช่วยชูกำาลัง และขับเสมหะ นอกจากนี้                                                 กรมการแพทย์แผนไทยฯ ได้วางแผนทำาความร่วมมือกับ สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
           ดอกบัวมีฤทธิ์ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลายจากความเครียด ทำาให้นอนหลับ                                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.สกลนคร สภาเกษตรกรฯ เพื่อเป็นแหล่งปลูกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย

           ได้ง่ายขึ้น ช่วยรักษาแผลพุพอง มีฤทธิ์ลดความดันโลหิต ขยายหลอดเลือด                                                      สำาหรับการผลิต มีการพิจารณาให้กองพัฒนายาแผนไทยและสมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยฯ และโรงพยาบาล
           ที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ และลดไขมันในเลือดด้วย                                                                       พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร เป็นหน่วยงานหลักสำาหรับการผลิตเครื่องยาผสมกัญชากลาง และตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาผสม
                                                                                                                                  จำานวน 16 ตำารับ ปัจจุบันการดำาเนินการอยู่ในช่วงการยื่นขออนุญาตปลูกและผลิต จากสำานักงานคณะกรรมการอาหาร
                                                                                                                                  และยา และเพื่อให้ผู้ป่วยไม่เสียประโยชน์ในการรักษาด้วยกัญชา กรมการแพทย์แผนไทยฯ ได้มีการขอครอบครองและ
            คณะผู้จัดทำ�                                                                                                          ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และการวิจัยจากกัญชาของกลางจากผู้มาขอนิรโทษกรรม ซึ่งหากได้รับอนุญาตก็จะสามารถ

              ที่ปรึกษา     นายแพทย์มรุต          จิรเศรษฐสิริ               อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก           ทำาการผลิต เพื่อการศึกษาวิจัยและการรักษาพยาบาลได้ทันที
                            นายแพทย์ปราโมทย์      เสถียรรัตน์          รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก                                                                              ในส่วนของการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับ
              บรรณาธิการ    นายแพทย์สรรพงศ์       ฤทธิรักษา            รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก                                                                      การนำาไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์
              บรรณาธิการรอง   ดร.เภสัชกรหญิงอัญชลี    จูฑะพุทธิ        ผู้อำานวยการกองวิชาการและแผนงาน                                                                                    แผนไทยฯ ร่วมกับสภาการแพทย์แผนไทย ได้จัดทำาหลักสูตร
              กองบรรณาธิการ  ดร.เภสัชกรหญิงดวงแก้ว      ปัญญาภู                  ภญ.สุภาพร ยอดโต     ภญ.เกษวราภรณ์ วงษ์พิมพ์                                                              การอบรมการใช้ตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ สำาหรับ
                            ภญ.อรปภา จันทร์หอม                               พท.วัชราภรณ์ นิลเพ็ชร์   พท.ป.ประดิษฐา ดวงเดช                                                                ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์
                            นายธเนศ  อิ่มนุกูลกิจ                            นายกฤษณะ  คตสุข       กลุ่มงานสื่อสารองค์กร                                                                  และหมอพื้นบ้าน และเพื่อเป็นการเตรียมการรองรับกฎหมาย
                                                                                                                                                                                          ที่ประกาศใช้ จึงจัดการอบรมครั้งแรกเพื่อผลิตวิทยากรครู ก  ให้กับ
                                                                                                                                  ตัวแทนของเขตบริการสุขภาพ  ในวันที่ 29 – 30 เมษายน 2562 ที่ผ่านมา
                           ท่านสามารถเข้าไปอ่านบทความและ   ติดตาม กรมการแพทย์แผนไทยฯ            เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์        สำาหรับการรับรองตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสม จะเปิดรับการจดแจ้งตำารับยา (จากหมอพื้นบ้านที่ได้
                           ดาวน์โหลดจุลสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์  ผ่านทางโซเชียลมีเดียได้ที่        ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000   ขึ้นทะเบียน และมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ ตามมาตรา 33(1)(ค) พรบ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542) เร็ว ๆ นี้
                           ได้ที่ http://tpd.dtam.go.th/index.                                  โทรศัพท์ : 0-2591-7007
                                                                                                โทรสาร  : 0-2591-7007
                           php/news-ak/dtam-news-ak                                                                                           ศูนย์ข้อมูลยาสมุนไพร การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
   1   2   3   4