Page 3 - จุลสารกรมการแพทย์แผนไทย ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2561
P. 3
“ตรีกฏุก” รสชาติเผ็ดร้อน... ต้องนึกถึง
ว่าด้วยเรื่องสมุนไพร
... ตำารับยาไทยที่ควรใช้ในฤดูฝน “ขิง”
พท.วัชร�ภรณ์ นิลเพ็ชร์
ฤดูร้อนผ่านไป ฤดูฝน ก็เข้ามาเยือนบางวันก็ฟ้าใส ภญ.ภรณ์ทิพย์ จันทร์หอม
บางวันฝนก็กระหนำ่าลงมาแบบไม่ทันตั้งตัว อากาศก็จะเย็นลง
ความชื้นก็สูง โอกาสจะเจอกับละอองฝนก็มาก อาการหวัด จากงานศึกษาวิจัยที่ผ่านมา พบว่า สารสกัดขิงด้วย
คัดจมูก ไข้ ไอ ก็ตามมากันเป็นแถว ๆ ทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ อะซีโตน และขิงผงมีฤทธิ์ขับนำ้าดี ทำาให้ช่วยย่อยอาหาร
การสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรงเป็นสิ่งสำาคัญ โดยมีสาร borneol, fenchone, 6 - gingerol และ
ที่จะป้องกันความไม่สบายได้ ในท�งก�รแพทย์แผนไทย 10 - gingerol เป็นสารออกฤทธิ์หลัก แคปซูลที่มีสารสกัด
กล่าวว่า เมื่อความชื้นมากระทบธาตุลมในร่างกาย จะท�าให้เกิด ขิงประกอบอยู่ร้อยละ 10 - 70 ใช้รักษาแผลในกระเพาะ
โรคเพื่อวาโยธาตุพิการ คือ โรควาตะ หรือโรคลมก�าเริบ ควรใช้ สมุนไพรที่เป็นทั้งอาหารและยา อยู่คู่คนไทยมาช้านาน อาหาร ยับยั้งการหลั่งกรด ลดความเป็นกรดตลอดจนยับยั้ง
ยารสร้อนในการรักษาโรค ตั้งแต่สมัยโบราณกาล หากกล่าวถึงสรรพคุณแก้คลื่นเหียน การทำางานของเอนไซม์ pepsin และบรรเทาอาการปวดเกร็ง
“ตรีกฏุก” (อ่านว่า ตรี - กะ - ตุก) เป็นตัวยาที่มีรสร้อน เวียนศีรษะ และแก้ท้องอืด เฟ้อ ได้เป็นอย่างดี คงหนีไม่พ้น..ขิง.. ในกระเพาะอาหารและลำาไส้ได้ การศึกษาในผู้ป่วยที่เป็นโรค
ช่วยปรับสมดุลร่างกาย แพทย์แผนไทยใช้เป็นยาปรับธาตุ จากการศึกษาพบว่า สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบของ ขิง (Ginger) มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Zingiber officinale ไขข้ออักเสบ ข้อเสื่อม และมีอาการผิดปกติทางกล้ามเนื้อ
หรือปรับระบบภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องกับโรคในฤดูฝน พิกัดย�* ตรีกฏุก เช่น “ขิง” มีฤทธิ์ ร้อน สามารถบรรเทาอาการไอ และ Roscoe เป็นพืชล้มลุก ขึ้นเป็นกอมีเหง้าใต้ดินเป็นข้อ ๆ (muscular discomfort) พบว่า เมื่อให้รับประทานขิงผง
“ตรีกฏุก” คือ ตัวย�ที่มีรสเผ็ดร้อน 3 อย่�ง ประกอบด้วย อาการหวัดได้ “พริกไทย” และ “ดีปลี” พบว่าสารสกัดชั้น เนื้อในสีขาวหรือเหลืองอ่อน ในเหง้าของขิงแก่ ประกอบด้วย ในหลาย ๆ ขนาดเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 2.5 ปี
เหง้�ขิงแห้ง เมล็ดพริกไทย ดอกดีปลี มีสรรพคุณ แก้วาตะ เอทานอลของพริกไทยดำาและดีปลีมีฤทธิ์ต้านการแพ้ โดยการ นำ้ามันหอมระเหย และสารสำาคัญหลายชนิด ซึ่งสารสำาคัญ พบว่าร้อยละ 75 ของผู้ป่วยโรคข้อมีอาการปวดข้อและ
เสมหะใช้ปรับสมดุลธาตุ ในร่างกายตามฤดู ยับยั้งการหลั่งฮิตตามีน (histamine) และเอนไซม์เบต้า ที่ทำาให้ขิงมีกลิ่นฉุน รสเผ็ดร้อน และเป็นสารสำาคัญที่มีสรรพคุณ บวมลดลง และผู้ป่วยทุกรายหายจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
วิธีก�รปรุงย� “ตรีกฏุก” ด้วยวิธีต้ม นำาเหง้าขิงแห้ง เฮกโซซามินิเดส (ß - hexosaminidase) ซึ่งสารสำาคัญ ทางยา ทั้งบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน มีฤทธิ์ต้านอนุมูล สำาหรับผู้ป่วยที่มีอาการไอเมื่อให้รับประทานยาแก้ไอสมุนไพร
เมล็ดพริกไทย ดอกดีปลี โดยใช้นำ้าหนักของตัวยาเสมอภาค ที่เป็นสารออกฤทธิ์หลักของสมุนไพรทั้งสองชนิดนี้ คือ อิสระ และลดอาการอักเสบ คือ gingerols และ shogaols ที่มีขิงเป็นส่วนประกอบร่วมกับยาปฏิชีวนะเป็นเวลา 7 วัน
หรือเท่ากัน ควรใช้หม้อดินเผา หรือหม้อเคลือบ เติมนำ้าสะอาด piperine นอกจากนี้มีการศึกษาวิจัยฤทธิ์ต้านการแพ้ของ บัญชียาหลักแห่งชาติ ระบุข้อบ่งใช้ของขิงตามองค์ความรู้ พบว่าผู้ป่วยมีอาการไอลดลงได้เร็วกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับประทาน
ให้ท่วมยา ใช้ไฟขนาดปานกลางต้มให้เดือด เมื่อเดือดแล้ว “ตรีกฏุก” ซึ่งพบว่า มีฤทธิ์ต้านภูมิแพ้ได้จริง ดังนั้นควรสนับสนุน ดั้งเดิม ว่าใช้เป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร ยาแก้ไอสมุนไพร
ใช้ไฟอ่อนลง ใช้เวลาต้ม 15 - 20 นาที คอยดูและคนสมำ่าเสมอ ให้ใช้เป็นยาที่ช่วยปรับธาตุและบำารุงร่างกายในฤดูฝนได้ • ทั้งยาเดี่ยวและที่เป็นส่วนประกอบของตำารับยา เช่น “ยาธาตุ อย่างไรก็ตาม มีข้อควรระวังการใช้ขิง ได้แก่ ขิงสามารถ
อย่าให้ไหม้ ส่วนใหญ่จะต้ม 3 เอา 1 (ใส่นำ้า 3 ส่วน ต้มให้เหลือ บรรจบ” เป็นต้น ยับยั้งการสังเคราะห์ thromboxane จึงควรระมัดระวัง
นำ้าเพียง 1 ส่วน) *พิกัดย� หมายถึง การกำาหนดตัวยาหรือเครื่องยาตั้งแต่ ขน�ดของขิงในบัญชีย�หลักแห่งช�ติ ระบุดังนี้ ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการตกเลือด มีรายงานพบว่าการให้ขิง
ข้อควรระวัง ควรต้มกินเฉพาะวัน ไม่ควรเก็บค้างคืน 2 สิ่งขึ้นไปเป็นหมวดหรือหมู่ รวมเป็นเรียกชื่อเดียวกัน ฤทธิ์บรรเท�อ�ก�รท้องอืด ขับลม จุกเสียด แน่นท้อง ในขนาดสูง อาจทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจับตัวของ
ถ้าเก็บต้องอุ่นทุกวัน เพื่อความสะดวกแก่การจดจำา รับประทานวันละ 2 – 4 กรัม (แคปซูลละ 250 มก. เกล็ดเลือด แต่อาหารจะหายไปหลังจากหยุดรับประทาน
รับประทาน 2 - 4 แคปซูล วันละ 4 เวลา) ฤทธิ์บรรเท� ประมาณ 1 อาทิตย์ และขิงแห้งในขนาดสูง 10 - 14 กรัม
อ�ก�รคลื่นไส้อ�เจียนจ�กก�รเม�รถเม�เรือรับประทาน อาจเพิ่มระยะเวลาในการแข็งตัวของเลือด ควรระวังในผู้ที่ใช้
วันละ 1 – 2 กรัม (แคปซูลละ 250 มก. รับประทาน ยาละลายลิ่มเลือด และผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการจับตัวของ
2 - 4 แคปซูล ก่อนเดินทาง) ฤทธิ์บรรเท�อ�ก�รคลื่นไส้ เกล็ดเลือด และไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหานิ่วในถุงนำ้าดี
อ�เจียนหลังผ่�ตัด รับประทานครั้งละ 1 กรัม (แคปซูลละ เนื่องจากอาจเพิ่มการอุดตันของนิ่วได้
250 มก. รับประทาน 4 แคปซูล) ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง หรือ ..........ขิงอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระและมีฤทธิ์ยับยั้ง
กรณีที่ต้องการรับประทานขิงสด สามารถใช้ขิงแก่สดขนาด สารก่อภูมิแพ้ในร่างกาย อย่าลืมดูแลสุขภาพ ในช่วงฤดูฝน
2 หัวแม่มือ หรือนำ้าหนัก 5 กรัม ล้างให้สะอาด ทุบให้แตก ด้วยการรับประทานขิง....นะ ออเจ้า............. •
ต้มเอานำ้าดื่มครั้งละ 1/3 ถ้วยแก้ว วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
หรือฝานขิงสด 4 - 5 แว่น เคี้ยว หรือ ชงเป็นชาดื่ม วันละ 3 - 4 ครั้ง
AW 1-30 May 61-3.indd 2 10/5/2561 23:03:19