Page 2 - จุุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ปีที่3 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน เมษายน 2563
P. 2
ถอดบทเรียน ทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่แนวโน้มในประเทศจีนกลับ
ขณะที่สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19
การใช้แพทย์แผนจีน ลดลงอย่างมาก ทั้งนี้เกิดจากหลายปัจจัยและปัจจัยที่
สำคัญอย่างหนึ่งคือการนำการแพทย์แผนจีนมาใช้ร่วม
กับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อรักษาและป้องกันโรค
ร่วมรักษาผู้ป่วยโรค ส่งเสริมและรักษาสมดุลตามธรรมชาติของร่างกาย
COVID-19
พจ. วรรณวิมล เชี่ยวเชิงชล
ภญ. สินีพร ดอนนาปี
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 คณะกรรมการ
สาธารณสุขและสุขภาพแห่งชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน
(National Health Commission of the People's
Republic of China) และสำนักงานการแพทย์แผนจีนแห่งชาติ
สาธารณรัฐประชาชนจีน (National Administration
of Traditional Chinese Medicine of the PCR) โดยอาศัยหลักการวินิจฉัยแยกกลุ่มอาการ
ได้ตีพิมพ์หนังสือ “แนวทางการตรวจรักษาโรคติดเชื้อ โรคทางการแพทย์แผนจีน (辨证论治)
นอกจากนี้ยังมีการประกาศ
ไวรัสโคโรนา 2019 (Guidance for Coronavirus
Disease 2019)” ฉบับแปลภาษาอังกฤษ โดยในเนื้อหา “แนวทางการตรวจรักษาโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 1” ของมณฑลหูเป่ย นำเสนอ
ได้กล่าวถึง การป้องกัน การควบคุม การตรวจวินิจฉัย ตำรับยา 2 ตำรับที่สามารถนำมาป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา
และการจัดการโรค รวมถึงการนำหลักการแพทย์แผนจีน 2019 ด้วยวิธีการชงดื่มหรือต้มดื่มเป็นน้ำสมุนไพร โดย
และยาจีนมาใช้รักษาผู้ป่วย ตำรับที่ 1 ประกอบด้วยตัวยา ชางจู๋ (苍术, Atractylodis
โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา Rhizoma, โกฐเขมา) 3g, จินอิ๋นฮวา (金银花, Lonicerae
2019 (COVID-19) มีลักษณะการเกิดโรคจัดอยู่ในกลุ่มอี้ปิ้ง Japonicae Flos, ดอกสายน้ำผึ้ง) 5g, เฉินผี (陈皮, Citri
(疫病) ซึ่งคำว่า “อี้” (疫) หมายถึง โรคติดต่อ เกิดจากการ Reticulatae Pericarpium, ผิวส้มจีน) 3g, หลูเกิน (芦根,
ได้รับปัจจัยก่อโรคภายนอก “อี้ลี่ (疫戾)” เข้ากระทบ Phragmitis Rhizoma, อ้อน้อย) 2g, ซังเย่ (桑叶, Mori
ตำแหน่งการเกิดโรคอยู่บริเวณปอดและม้าม ปัจจัย Folium, ใบหม่อน) 2g, เซิงหวงฉี (生黄芪Astragali Radix)
ก่อโรคเด่น คือ "ความชื้น ความร้อน พิษร้อน และเลือดคั่ง" 10g ซึ่งมีสรรพคุณ ขับความร้อนระบายความชื้น
ดังนั้นการเลือกใช้ยาจึงเลือกใช้ตัวยาที่ระบายความร้อน ปรับสมดุลระบบการทำงานของปอดและม้าม และเสริมสร้าง
ที่ปอด ขับชื้นและขับพิษ โดยตำรับพื้นฐานที่ประกาศให้ใช้ เจิ้งชี่ (ภูมิต้านทานของร่างกาย) โดยแช่น้ำร้อนดื่มแทนน้ำชา
รักษาโรคในทุกระยะ (แต่ไม่ให้ใช้ในการป้องกัน) คือ ติดต่อกันเป็นเวลา 7-10 วัน และตำรับที่ 2 ประกอบด้วย
ตำรับชิงเฟ่ยผายตู๋ทัง (清肺排毒汤,ตำรับระบายปอดร้อนขับพิษ) ตัวยา เซิงหวงฉี (生黄芪, Astragali Radix) 10g , ฉ่าวไป๋จู๋
และแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำข้าวต้มตามหลังรับประทานยา (炒白术, Atractylodes Macrocephalae Rhizoma) 10g,
โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการคอแห้ง สารน้ำพร่อง ฝางเฟิง (防风, Saposhnikoviae Radix) 10g, ก้วนจ้ง
(贯众,Dryopteridis Crassirhizomatis Rhizoma) 6g,
เนื่องจากน้ำข้าวต้มช่วยบำรุงกระเพาะอาหาร จินอิ๋นฮวา (金银花, Lonicerae Japonicae Flos, ดอก
สร้างสารน้ำ และระงับอาการกระหายน้ำ สายน้ำผึ้ง) 10g, เพ่ยหลาน (佩兰,Eupatorii Herba) 10g ,
ทั้งนี้แพทย์แผนจีนที่ เฉินผี (陈皮, Citri Reticulatae Pericarpium, ผิวส้มจีน) 6g
ให้การรักษาจะปรับเพิ่ม-ลด ซึ่งมีสรรพคุณ ขับพิษร้อน กระจายลมร้อน ปรับสมดุลระบบ
ตัวยาหรือขนาดยาให้ การทำงานของปอดและม้าม และเสริมสร้างเจิ้งชี่ โดยต้มดื่ม
เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย วันละ 1 ชุด แบ่งรับประทาน วันละ 2 ครั้ง (เช้า - เย็น)
ติดต่อกันเป็นเวลา 7-10 วัน