Page 4 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ปีที่3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2563
P. 4

ฟ้าทะลายโจร








                                                                                                พท. ปิยทัศน์ ใจเย็น




               ฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรที่มีการใช้มานานอย่าง
        แพร่หลายในประเทศไทย  เนื่องจากเป็นสมุนไพรที่หา
        และปลูกได้ง่าย ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ฟ้าทะลายโจร
        จัดเป็นสมุนไพรรสขมเย็นจัด ทำให้อุณหภูมิในร่างกายลดลง

        จึงนิยมนำมาใช้ลดไข้ อาการหวัด แก้เจ็บคอ หรืออาการท้องเสีย
        แบบไม่ติดเชื้อในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ โดยส่วนมากใช้ไม่เกิน 3 วัน
        หากอาการไม่ดีขึ้นควรไปพบแพทย์ และเนื่องจากการรับประทาน
        ฟ้าทะลายโจรติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทำให้ร่างกายเย็น
        อาจทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ แขนขาชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง
        ท้องอืด อาหารไม่ย่อย อย่างไรก็ตามอาการต่าง ๆ เหล่านี้         ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายส่งเสริมการใช้
        สามารถกลับมาสู่ปกติได้เมื่อหยุดรับประทาน               ยาสมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพ ฟ้าทะลายโจรจึงถูกจัดเป็น

               ฟ้าทะลายโจรมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Andrographis   ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ  และจัดเป็นยาลำดับแรกที่
        paniculata  (Burm.f.)  Wall.ex  Nees  อยู่ในวงศ์       ใช้ในการบรรเทาอาการเจ็บคอ และลดอาการของโรคหวัด
        Acanthacea เป็นไม้ล้มลุก สูง 30-70 ซม. ทุกส่วนมีรสขม   (common cold) ที่เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งมักพบการระบาดมาก
        ใบเดี่ยววงรีแหลมสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกเป็นช่อออกที่ปลายกิ่ง  ในช่วงฤดูหนาว ดังนั้น เพื่อลดปัญหาเชื้อดื้อยาจากการใช้ยา
        และซอกใบ กลีบดอกสีขาว ผลเป็นฝักเมื่อแก่เป็นสีน้ำตาล    ปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล  และเป็นการส่งเสริมเอกชน
        แตกได้ ฝักภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ช่วงเวลาที่เหมาะสม      พัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟ้าทะลายโจรให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ
        สำหรับเก็บเกี่ยวฟ้าทะลายโจร คือ ช่วงที่กำลังออกดอก
                                                               ความนิยม มีคุณภาพสม่ำเสมอ และมีปริมาณสารออกฤทธิ์
                                                               ตามข้อกำหนดในเภสัชตำรับ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค

                                                               และสร้างเศรษฐกิจชาติได้ คนไทยควรหันมาดูแลสุขภาพ
                                                               เบื้องต้นด้วยการใช้สมุนไพรไทย

                                                                     ทั้งนี้  การใช้สมุนไพรฟ้าทะลายโจรมีข้อห้าม

                                                                   ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร ไม่ควรใช้ในผู้ที่

                                                                   แพ้สมุนไพรในกลุ่ม Acanthaceae และหากใช้
                                                                    ฟ้าทะลายโจรแล้วมีอาการแพ้ เช่น ผื่นลมพิษ

                                                               หรือหายใจลำบากให้หยุดใช้ยาและควรไปพบแพทย์ทันที
          คณะผู้จัดทำ

       ที่ปรึกษา      นายแพทย์มรุต         จิรเศรษฐสิริ         อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

       บรรณาธิการ    นายแพทย์สรรพงศ์       ฤทธิรักษา            รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
       บรรณาธิการรอง ดร.เภสัชกรหญิงอัญชลี   จูฑะพุทธิ           ที่ปรึกษากรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
       กองบรรณาธิการ  ดร.เภสัชกรหญิงดวงแก้ว   ปัญญาภู                ภญ.สุภาพร ยอดโต        ภญ.เกษวราภรณ์ วงษ์พิมพ์

                               นส.สุพินดา กิจทวี           นายกฤษณะ คตสุข         ภญ.พิมพรรณ ลาภเจริญ    ภญ.ศตพร สมเลศ
                                พท.สุนิสา หลีหมุด     พทป.ประดิษฐา  ดวงเดช    นายยศวริส เสธา          กลุ่มงานสื่อสารองค์กร

                     ท่านสามารถเข้าไปอ่านบทความและดาวน์โหลด                                กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
                     จุลสารฉบับอิเลคทรอนิกส์ ได้ที่
                     https://tpd.dtam.moph.go.th/index.                                @DTAM
                     php/news-ak/dtam-news-ak
                     และสามารถส่งข้อคิดเห็นมาที่                                  เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ
                     enewsletters.dtam@outlook.co.th                              อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
                                                                                  โทรศัพท์ 0-2591-7007 โทรสาร 0-2591-7007
   1   2   3   4