Page 57 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 57

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  255




                                                         [3]
            (dopamine) ซึ่งจะท�าให้ระดับโปรแลคตินสูงขึ้น   1  ดังนั้นการหายาทางเลือกอื่นเพื่อน�ามาใช้ทดแทน
            อย่างไรก็ตามการใช้ยาทั้งสองชนิดยังมีข้อจ�ากัดอยู่   ยาแผนปัจจุบันเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจศึกษา การ

            ได้แก่ ยาเมโทโคลพราไมด์มีผลข้างเคียงต่อระบบ  ใช้สมุนไพรในการกระตุ้นน�้านมเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
            ประสาทส่วนกลาง และเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะซึม  แม้ว่าสมุนไพรเหล่านี้ส่วนใหญ่ไม่ผ่านการประเมิน
                [3]
            เศร้า  นอกจากนี้ยังพบว่ายาเมโทรโคลพราไมด์ ถูก  ทางวิทยาศาสตร์แต่มีการใช้อย่างแพร่หลายตามค่า
            ขับออกทางน�้านมมารดา แม้ว่าจะประมาณว่าทารก  นิยมและวัฒนธรรมท้องถิ่นจากการใช้มาเป็นเวลานาน
            ได้รับในปริมาณน้อยกว่าร้อยละ 10 ของขนาดที่แม่  ไม่พบว่ามีอันตรายและมีประสิทธิผลดีโดยไม่ทราบ
            ได้รับเมื่อปรับด้วยน�้าหนักตัวแล้ว อย่างไรก็ตามหาก  กลไกการออกฤทธิ์ [5]

            ระดับยาถึงขนาดที่ออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้จะท�าให้     การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับการใช้ต�ารับยา
            เกิดการเพิ่มขึ้นของระดับโปรแลคตินและอาจมีผล  สมุนไพรในสตรีหลังคลอดนั้น มีการศึกษาผลของ
            ข้างเคียงต่อระบบทางเดินอาหารของทารกได้ แม้ว่า  ต�ารับยาสมุนไพรหลังคลอดของโรงพยาบาลกาบเชิง

            การศึกษาส่วนใหญ่จะรายงานว่าไม่พบผลข้างเคียงใน  ต่อการหดรัดตัวของมดลูก การขับน�้าคาวปลา และ
            ทารกที่ดื่มน�้านมมารดาที่ใช้ยาเมโทโคลพราไมด์ แต่  สุขภาพโดยรวม พบว่ากลุ่มที่ใช้ยามีการหดรัดตัวของ

            พบว่าหลายการศึกษาไม่ได้มีการสังเกตผลข้างเคียงที่   มดลูก การขับน�้าคาวปลา และสุขภาพโดยรวมดีกว่า
                                                                   [6]
            เพียงพอ  ส�าหรับยาดอมเพอริโดนซึ่งไม่ได้รับการ  กลุ่มที่ไม่ใช้ยา   นอกจากนี้ยังมีการทดลองเปรียบ
                   [4]
            รับรองให้ใช้ในสหรัฐอเมริกาจากเหตุผลของการเพิ่ม  เทียบประสิทธิผลของยาดอมเพอริโดนและยาประสะ
            ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ จาก  น�้านมในการกระตุ้นการหลั่งน�้านมในมารดาแรกคลอด
            ผลการศึกษาโดยการส�ารวจหญิงหลังคลอดที่ได้    ในโรงพยาบาลหนองบัวล�าภู จังหวัดหนองบัวล�าภู พบว่า

            รับยาเมโทโคลพราไมด์หรือยาดอมเพอริโดนเพื่อ   การใช้ยาประสะน�้านมซึ่งเป็นยาประสะน�้านมแผนโบราณ
            กระตุ้นน�้านมจ�านวน 1,990 คน ใน 25 ประเทศ พบ  ที่ปรุงขึ้นจากสมุนไพรให้ผลในการกระตุ้นน�้านมให้
            ว่า มารดาหลังคลอดที่ใช้ยาเมโทโคลพราไมด์เพื่อ  ไหลได้เร็วกว่าการไม่ใช้ยาอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ

            กระตุ้นน�้านม มีอาการซึมเศร้าถึง ร้อยละ 12.1 และ  และดูเหมือนจะกระตุ้นได้ดีกว่ายาดอมเพอริโดน แต่
            พบอาการข้างเคียงทางระบบประสาทส่วนกลางอื่น ๆ   พบได้น้อยและไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ [7]
            ร่วมด้วย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วอาการข้างเคียงเหล่านี้พบ     ตามที่งานอนามัยแม่และเด็ก กระทรวง

            ได้มากกว่าการใช้ยาดอมเพอริโดนอย่างมีนัยส�าคัญ  สาธารณสุขได้ตั้งเป้าหมายอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนม
            ทางสถิติ (p < 0.05) อย่างไรก็ตามการใช้ยาดอมเพอ-   แม่อย่างเดียวครบ 6 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 จาก
            ริโดนพบผลข้างเคียงท�าให้น�้าหนักตัวเพิ่มขึ้นได้  การทบทวนข้อมูลในปี 2551–2554 พบว่าอัตราการ

            ถึงร้อยละ 11.7 และมีอาการข้างเคียงต่อระบบ   เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวครบ 6 เดือน ของมารดา
            ทางเดินอาหารเช่น ปากแห้ง ท้องเสีย หรือท้องผูก   ในเขต อ.หนองสองห้อง คือ ร้อยละ 21.42 ร้อยละ

            ได้มากกว่ายาเมโทโคลพราไมด์อย่างมีนัยส�าคัญทาง  25.58 ร้อยละ 27.40 และ ร้อยละ 28 ตามล�าดับ ปัญหา
                        [3]
            สถิติ (p < 0.05)  ส่วนผลที่ท�าให้เกิดอาการใจสั่นของ  ส่วนใหญ่ที่หญิงหลังคลอดประสบ คือ น�้านมไม่มา
            ยาทั้งสองพบในอัตราใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ   หรือมาน้อย เต้านมคัดตึง และปวด จากการสอบถาม
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62