Page 24 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 24
254 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
สมุนไพร ไม่เคร่งครัดเหมือนยาแผนปัจจุบันที่ต้องมี จำานวน 6 ราย รายงานสังเขปที่ตีพิมพ์ในวารสารการ
การศึกษาวิจัยแบบสุ่มเปรียบเทียบ (Randomized- แพทย์แผนไทยฯ แม้เป็นเพียงรายงานสังเขป และ
Controlled Trial : RCT) ที่เข้มงวด เพราะหากใช้ เป็นเพียงการศึกษาย้อนหลัง (retrospective study)
หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับยาแผนปัจจุบัน ย่อมเป็น ไม่ใช่การวิจัยแบบสุ่มเปรียบเทียบ (RCT) แต่ก็เป็น
อุปสรรคแก่การนำาสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในบริบท หลักฐาน “ระดับหนึ่ง’’ และโดยที่ฟ้าทะลายโจรเป็น
ของประเทศไทยที่ยังอยู่ในลักษณะ “ติดกับดักราย สมุนไพรหาง่าย ราคาถูก
ได้ปานกลาง’’ และยังอ่อนแอด้านการวิจัยและพัฒนา คณะอนุกรรมการฯ จึงตัดสินใจเพิ่มข้อบ่งใช้ใน
ยา หลักเกณฑ์ในยาสมุนไพร “บัญชี 1’’ จึงเขียนไว้ โควิด-19 โดยมีเงื่อนไขสำาคัญ 3 ข้อ ได้แก่
อย่าง “ยืดหยุ่น’’ คือ ต้องการเพียง “มีหลักฐานที่ ก. ใช้ในขนาด 180 มก.ต่อวัน ตามรายงาน
สนับสนุนการใช้ตามสรรพคุณ (health benefit) หรือ สังเขป
ข้อบ่งใช้ (clinical indication) มีประสบการณ์การ ข. ใช้โดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ใช้ในประเทศไทยอย่างเพียงพอ สามารถใช้ในสถาน ค. ให้มีการติดตามประเมินประสิทธิผลและ
พยาบาล’’ ความปลอดภัยหลังการใช้อย่างเป็นระบบ
เท่าที่ทราบ คณะอนุกรรมการที่พิจารณาเรื่อง จึงต้องติดตามต่อไปว่า ฟ้าทะลายโจรจะได้รับ
นี้ พิจารณาให้เพิ่มข้อบ่งใช้ฟ้าทะลายโจรในโควิด-19 ความเชื่อถือมากขึ้นหรือน้อยลงในอนาคต
ด้วยเหตุผล ดังนี้
(1) ยาที่ใช้รักษาโควิด-19 ในปัจจุบัน ยังไม่มียา เรื่องนี้จึงเป็น “มหากาพย์” ไม่ใช่ “เรื่องสั้น” หรือ
ใดในโลกที่ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลกว่า “นิยายสั้น”
เป็นยาต้านไวรัสที่รักษาโควิด-19 ได้อย่างปลอดภัยและ
ได้ผล ยาหลายชนิดที่เคยคิดว่าได้ผล เช่น ฮัยดรอก- ในวารสารฉบับนี้ มีบทความน่าสนใจของ จันทรา
ซีคลอโรควิน ที่ อย.สหรัฐ เคยรับขึ้นทะเบียนให้ กาบวัง และ เกศรา ณ บางช้าง เรื่องการพัฒนายาเก่า
รักษาโรคนี้ได้ก็ถูกถอนไปแล้ว ยาเอดส์ โลพินาเวียร์/ เพื่อใช้รักษาโควิด-19 ที่ได้ทบทวนยาในท้องตลาดที่
ริโทนาเวียร์ ยังไม่มีประเทศใดรับรอง เรมดีซิเวียร์ ที่ นำามาทดลองใช้รักษาโควิด-19 อย่างเป็นระบบ โดย
อย.สหรัฐรับรอง องค์การอนามัยโลกก็ยังไม่รับรอง เฉพาะเรมดีซิเวียร์ ฟาวิพิราเวียร์ ไอเวอร์เม็กตินและ
แม้แต่ฟาวิพิราเวียร์ซึ่งบางประเทศรับรอง องค์การ ฟ้าทะลายโจร ซึ่งนอกจากจะนำาเสนอข้อมูลโดยสรุปที่
อนามัยโลกก็ยังไม่รับรอง ไอเวอร์เม็กตินที่เป็นข่าว เป็นประโยชน์มากแล้ว ตอนท้ายของบทความได้เสนอ
ครึกโครม ก็ยังไม่มีหลักฐานน่าเชื่อถือ หลักการที่นักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องพึงสำาเหนียก ว่า
(2) ฟ้าทะลายโจร ยังไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือ “สถานการณ์การระบาดไม่ควรทำาให้เราต้องยอมรับ
มากเพียงพอ และองค์การอนามัยโลกก็ยังไม่รับรอง ผลการวิจัยที่ไม่มีคุณภาพและยอมจำานนต่อความ
แต่มีหลักฐานว่ามีฤทธิ์ต้านเชื้อโควิด-19 ในห้อง ไม่ถูกต้องทางวิทยาศาสตร์และผิดจริยธรรมการวิจัย
ทดลองและในสัตว์ทดลอง รวมทั้งมีหลักฐานเบื้อง ส่วนการอนุญาตให้เข้าถึงการใช้ยารักษาโดยที่ยังไม่มี
ต้นว่า สามารถลดเชื้อในคนจากการทดสอบในผู้ป่วย ผลรับรองประสิทธิผลที่ชัดเจนอาจทำาให้ในที่สุดไม่