Page 54 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 54

44 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           สอดคล้องกับความคาดหวัง ที่เอื้อต่อการดูแลในระยะ  ตนเองหรือการดูแลรักษาความเจ็บป่วยนั้น ซึ่งหมาย
           ยาว และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการรักษา โดย   ถึงแบบแผนครอบครัว วิธีการดูแลรักษาและการดูแล

           เฉพาะประชาชนในชนบทอีสาน ที่มีปัจจัยบางอย่างที่  สุขภาพ ที่จะต้องเริ่มจากการดูแลสุขภาพตนเองอย่าง
           มีอิทธิพลต่อรูปแบบความเชื่อด้านสุขภาพแบบผสม  ต่อเนื่องก่อน ซึ่งอาจมีปัจจัยด้านต่าง ๆ มาประกอบ
           ผสานระหว่างความเชื่อในการบูชาผี นับถือพราหมณ์   กัน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของหลักความรับผิดชอบต่อ

           พุทธ และปราชญ์ชาวบ้าน รูปแบบดังกล่าวยังคง   ตนเอง แรงจูงใจ และพฤติกรรมการดูแลตนเอง สิ่ง
           เป็นตัวกำาหนดที่ทำาให้ชาวชนบทอีสานมีพฤติกรรม  ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นกระบวนการในการที่จะดูแล
           สุขภาพแปรตามรูปแบบความเชื่อของครัวเรือน รูป  สุขภาพของตนเอง เพื่อส่งเสริมป้องกันสุขภาพของ

           แบบดังกล่าวได้แก่ 1) รูปแบบการแพทย์แผนไทย   ตนเอง ไม่เกิดการเจ็บป่วย ตลอดจนการส่งเสริมสุข
           กล่าวคือนำาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของชาว    ภาพให้กับครอบครัว เครือข่ายทางสังคม และชุมชน
                                                                                    [5-8]
           บ้านมาทำาการรักษากันเอง 2) รูปแบบการแพทย์พื้น  ซึ่งเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ที่กล่าวมา
           บ้าน เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมความคิด ความเชื่อ   จึงพอสรุปได้ว่า พฤติกรรมที่ตัดสินใจแสดงออกมา
           วิถีชีวิตและ 3) รูปแบบการแพทย์ทางเลือก เป็นการ  ในการดูแลสุขภาพรักษาความเจ็บป่วยนั้น ขึ้นอยู่กับ

           ประยุกต์รูปแบบทางการแพทย์อื่นร่วมกับการแพทย์  ปัจจัยด้านต่าง ๆ นำามาประกอบการตัดสินใจ
                     [1-2]
           แผนปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่า มีปัจจัยบางอย่างที่     แนวคิดเรื่องสุขภาพและการเจ็บป่วยของชาว
           มีอิทธิพลต่อการเลือกรูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บ  บ้านในภาคอีสานเกิดจากโลกทัศน์ที่มีรากฐานจาก

           ป่วยของครัวเรือน                            วัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างผี พราหมณ์ พุทธ
                อย่างไรก็ตาม  ความรู้  เป็นการสะสม     และยังคงเป็นตัวกำาหนดสำาคัญที่ทำาให้ชาวบ้านใน

           ประสบการณ์ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการมองเห็น   ภาคอีสานมีพฤติกรรมสุขภาพต่าง ๆ ไปตามความ
                                                                     [1]
           การได้ยิน การได้สัมผัส และมีความสามารถในการ  คิดความเชื่อที่ตนมี  ซึ่งมีรูปแบบการรักษาในรูปแบบ
           จดจำา ที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ หรือเรื่อง  การแพทย์แผนไทยเป็นการนำาภูมิปัญญาของชาวบ้าน

           ราว รายละเอียดที่ปรากฏในอดีต แล้วได้รวบรวม  มาทำาการรักษา เช่น การนวด การประคบสมุนไพร การ
           ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ได้รับรู้มา และการศึกษาให้  ผดุงครรภ์ เป็นต้น การแพทย์พื้นบ้าน เป็นผลผลิต
           เกิดความรู้เป็นสิ่งที่จำาเป็นในการปฏิบัติตน เพื่อให้  ทางวัฒนธรรมที่สัมพันธ์อยู่กับความคิด ความเชื่อ

           ความเข้าใจที่ถูกต้องและเกิดความผิดพลาดน้อย  วิถีชีวิต เช่น การใช้เทคนิคพิเศษร่วมกับสมุนไพร
               [3-4]
           ที่สุด  เพื่อนำามาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ที่  การใช้คาถาอาคมและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การทำาบุญสะเดาะ
           คนธรรมดาทั่วไปทำากันเอง ซึ่งไม่เหมือนและไม่อาจ  เคราะห์ เป็นต้น และการแพทย์ทางเลือกคือการแพทย์

           แทนที่กิจกรรมสุขภาพที่ทำาให้โดยนักวิชาชีพ เพราะมี  ที่ใช้ร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เช่น การใช้กลิ่น
           ลักษณะของประสบการณ์ไม่เป็นวิทยาศาสตร์และอาจ  ในการรักษาเพื่อช่วยลดอาการทรมานของผู้ป่วยหลัง

                                                                    [2]
           ทำาลายสุขภาพเพราะเป็นตัวถ่วงให้การเข้าใช้บริการ  การผ่าตัด เป็นต้น  การวิจัยครั้งนี้เลือกศึกษาในพื้นที่
           จากผู้เชี่ยวชาญล่าช้า หรือ ไม่ก็ใช้เทคนิคการบำาบัด  อำาเภอพังโคน
           รักษาที่อันตราย อย่างไรก็ตามการดูแลสุขภาพของ     ที่ผ่านมามีการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัย
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59