Page 55 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 55

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  35




                   ส่วนการประเมินภาวะทางอารมณ์ ประยุกต์ใช้   ตัวรับผ่านเส้นประสาทรับกลิ่นและส่งไปยังสมอง
              Bond-Ladder Questionnaire  กลุ่มที่ได้รับการ  ส่วน limbic system คือ amygdala ซึ่งท�าหน้าที่ใน
                                       [5]
              สูดดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยงรู้สึกตื่นตัว และตื่น  การรับกลิ่น และควบคุมด้านอารมณ์ และสมองส่วน

              เต้นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05, p <   hippocampus ซึ่งเป็นสมองที่เกี่ยวข้องกับความจ�า
              0.001) กลุ่มที่ได้รับการสูดดมน�้ามันหอมระเหยหูเสือ  โมเลกุลของน�้ามันหอมระเหยท�าให้สมองปลดปล่อย

              รู้สึกผ่อนคลายเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p <   สารเคมีในสมองออกมา กระตุ้นสมองส่วน thalamus
              0.05) กลุ่มที่ได้รับการสูดดมน�้ามันหอมระเหยโหระพา  ให้หลั่งสารเคมี enkephalins จากกลไกการขนส่ง
              รู้สึกอยากเข้าสังคมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   โมเลกุลของน�้ามันหอมระเหยผ่านเข้าสู่จมูกและส่ง

              (p < 0.001) รู้สึกผ่อนคลาย รู้สึกสนใจสิ่งที่ก�าลังท�า   ไปยังสมองที่รับรู้เกี่ยวกับอารมณ์และความจ�า [2]
              มองตนเองมีความสามารถ รู้สึกมีความสุข รู้สึกเป็น  กลไกทางเภสัชวิทยาและกลไกทางจิตวิทยาน�้ามัน

              มิตรกับคนอื่น รู้สึกสนใจสิ่งต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัย  หอมระเหยมีผลต่อการท�างานของระบบของสารสื่อ
              ส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 3) แต่กลุ่มที่ได้  ประสาท มีฤทธิ์ท�าให้สงบและยับยั้งการท�างานของ
              รับการสูดดมน�้ามันแก้ว ก่อนและหลังการทดลองไม่  ระบบ glutamatergic กระตุ้นการท�างานของระบบ

              พบว่ามีผลต่อภาวะทางอารมณ์อย่างมีนัยส�าคัญทาง  GABAergic, dopaminergic, serotonergic และ
              สถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 3)               cholinergic มีฤทธิ์กระตุ้นยับยั้งการท�างานของระบบ
                                                          GABAergic กลไกการออกฤทธิ์ทางจิตวิทยาของ
                            อภิปร�ยผล                     น�้ามันหอมระเหยจะเกี่ยวข้องกับ limbic system

                   สมุนไพรในท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร อาทิ ผัก  เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการแปลความหมายของ
              แขยง หูเสือ และโหระพา ยังไม่มีการน�ามาใช้ในการ  กลิ่นและความรู้สึกพึงพอใจ แล้วแสดงผลโดยผ่าน

              ดูแลส่งเสริมสุขภาพด้านความจ�าและอารมณ์ หรือ  hypothalamic-pituitary-adrenal axis การออก
              การน�ามาใช้ในทางสุคนธบ�าบัดเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจ  ฤทธิ์โดยรวมของน�้ามันหอมระเหยชนิดหนึ่ง ๆ จะเกิด

              เป็นผลมาจากการไม่มีงานวิจัยที่สามารถบ่งชี้ถึง  จากผลรวมของทั้งกลไกทางเภสัชวิทยาและจิตวิทยา [14]
              ประสิทธิผลเบื้องต้นในด้านดังกล่าว ผลการศึกษา     ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่าการสูดดมน�้ามันหอม
              ครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลเบื้องต้นของการ  ระเหยผักแขยงมีประสิทธิผลในการเพิ่มระดับความ

              สูดดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยง เป็นเวลา 3 นาที   จ�าได้ดีขึ้น ส่วนการสูดดมน�้ามันหอมระเหยหูเสือ
              มีผลท�าให้ค่าระดับคะแนนด้านความจ�าเพิ่มมากขึ้น   และโหระพา ไม่มีผลต่อการเพิ่มระดับความจ�า ทั้งนี้

              และการสูดดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยง หูเสือ และ  ไม่สอดคล้องกับการศึกษาของ Moss et al.  พบ
                                                                                            [15]
              โหระพายังสามารถกระตุ้นความรู้สึกของบุคคลใน  ว่าหลังการสูดดมกลิ่นน�้ามันหอมระเหยสะระแหน่
              ด้านความตื่นตัว ความผ่อนคลาย สนใจสิ่งที่ก�าลัง  สามารถช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางปัญญาด้านความจ�า

              ท�า มองตนเองมีความสามารถ มีความสุข เป็นมิตร  ได้ ซึ่งท�าการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจ�านวน 144
              กับคนอื่น สนใจสิ่งต่าง ๆ และอยากเข้าสังคมอีก  คน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู้วิจัยใช้กลุ่มตัวอย่างขนาด
              ด้วย ซึ่งเมื่อโมเลกุลของน�้ามันหอมระเหยสัมผัสกับ  เล็กจึงส่งผลท�าให้ผลการศึกษาไม่สอดคล้องกัน และ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60