Page 71 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 71
554 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
รับการรักษา ร้อยละ 26.66 ไม่กลับมามีอาการปวด อาการแสดงลูกสะบ้าฝืด อาการแสดงมีเสียงในข้อเข่า
ซ�้าอีก และอาการแสดงงอเข่าชิดก้น ยกเว้นอาการแสดงข้อ
การเสริมการพอกเข่าในกระบวนการรักษา เข่าผิดรูป และเมื่อเปรียบเทียบกับการรักษาแบบปกติ
ผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่าท�าให้อาการแสดงของ การมีจุดกดเจ็บบริเวณสัญญาณ 3 เข่า เข่าโก่ง และ
ผู้ป่วยดีขึ้นกว่าการรักษาตามเวชปฏิบัติ อาจเป็นผล การมีเสียงในข้อเข่า การเสริมการพอกเข่าสูตรล�าปาง
มาจากฤทธิ์ของยาพอกเข่าสมุนไพร ในสูตรยาพอก โมเดลให้ผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีกว่า ในการศึกษาครั้ง
เข่าล�าปางโมเดล มีผักเสี้ยนผี (Cleome viscosa L.) ต่อไป ควรใช้การศึกษาแบบสุ่มแบบมีกลุ่มควบคุม
ที่มีการศึกษาพบฤทธิ์ลดอาการข้ออักเสบในหนู โดย (randomized controlled trial) ที่มีการติดตามดู
[21]
สามารถลดอาการปวด อาการอักเสบ และลดไข้ได้ การเปลี่ยนแปลงอาการระหว่างการรักษา เเละมีการ
ไพล (Zingiber cassumunar Roxb) เป็นสมุนไพร ใช้การประเมินอาการแสดงที่เป็นสากลเปรียบเทียบ
อีกชนิดที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยการยับยั้งการ กับการตรวจประเมินทางแพทย์เเผนไทย นอกจากนี้
หลั่งไนตริกออกไซด์ และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่ง ควรมีการติดตามผลการรักษาในระยะยาวเพื่อศึกษา
สามารถยับยั้งการท�าลายของกระดูกอ่อนผิวข้อได้ ถึงความเสถียรของผลการรักษาต่อไป
[22]
และยังมีการศึกษาทางคลินิกพบว่าการใช้สารสกัด
ขมิ้นชัน (Curcuma Longa L.) สามารถระงับการ กิตติกรรมประกำศ
อักเสบในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมได้ โดยลดระดับ IL- บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย
1β ลดระดับความปวด ลดคะแนน WOMAC และ ประสิทธิผลของการพอกเข่าล�าปางโมเดลในการรักษา
ยังลดภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) [23] โรคข้อเข่าเสื่อม ขอขอบคุณ นายแพทย์ประเสริฐ
อย่างไรก็ตามการเสริมการพอกเข่าในการรักษา กิจสุวรรณรัตน์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดล�าปาง
ผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า ยังคงต้องมีการศึกษา ที่ให้การสนับสนุนเชิงนโยบาย ขอบคุณแพทย์แผน
เพิ่มเติม ซึ่งข้อสังเกตจากการศึกษาแต่ละชิ้นมีความ ไทยในหน่วยบริการแพทย์แผนไทยทั้ง 13 แห่ง และ
แตกต่างกันที่สูตรต�ารับสมุนไพร ระยะเวลาที่พอกใน ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการวิจัยทุกท่านที่ท�าให้การศึกษา
แต่ละครั้ง และจ�านวนครั้งในการพอก ในการน�าไปใช้ นี้ส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ประโยชน์ควรมีการปรับให้เข้ากับบริบทในพื้นที่ของ
ตน และความเหมาะสมกับอาการของผู้ป่วย
References
ข้อสรุป 1. Suwannatrai S, Punpeng T, Khamkaew N, Khamkaew
P, Seeloopmprk P, Udomkiat P, Chotivichit A, Akaraser-
การเสริมการรักษาด้วยการพอกเข่าสูตรล�าปาง eenont P, Laohapand T. Comparison of the diagnosis of
osteoarthritis knee by western medicine standard with
โมเดลซึ่งประกอบไปด้วยสมุนไพรที่พบได้มากใน the Thai traditional medicine diagnosis of Lom-Jub-
พื้นที่จังหวัดล�าปาง 7 ชนิด แสดงการเปลี่ยนแปลง Pong-Hang-Kao. Siriraj Med Bull. 2018;11(2):88-95. (in
Thai)
อาการทางคลินิกที่ดีขึ้นหลังการรักษาในทุกด้าน 2. Cui A, Li H, Wang D, Zhong J, Chen Y, Lu H. Global,
ได้แก่ อาการแสดงมีจุดกดเจ็บ อาการแสดงเข่าโก่ง regional prevalence, incidence and risk factors of knee