Page 70 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 70

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  553




            สภาพการรักษาจริง จากหน่วยบริการทั้ง 13 แห่งใน  ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ โดยในกลุ่ม
            จังหวัดล�าปาง ถึงแม้จะไม่มีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้า  ทดลองมีสัดส่วนอาการแสดงดีขึ้นสูงกว่ากลุ่มควบคุม

            กลุ่มการรักษา แต่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ ข้อมูลนี้  ในการศึกษานี้การเสริมหัตถการพอกเข่า ท�าให้อาการ
            จึงอาจน�าไปใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนเชิงนโยบายใน  แสดงของโรคดีขึ้นได้มากกว่าการรักษาด้วยเวชปฏิบัติ
            การส่งเสริมการพอกเข่าล�าปางโมเดลได้ โดยในกลุ่ม  เพียงอย่างเดียว โดยทั่วไปการนวดด้วยแรงระดับ

            ตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษา มีการเปลี่ยนแปลงก่อน  ปานกลางเช่น การนวดไทย ไม่เพียงลดอาการปวด
                                                                                          [20]
            และหลังการรักษาแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ (p <   แต่ยังช่วยท�าให้การเคลื่อนไหวของข้อดีขึ้น  และ
            0.05) ทั้งสองกลุ่ม โดยผลการรักษาที่มีอาการแสดง  จากการศึกษาที่ผ่านมา การพอกเข่าเพียงอย่างเดียว

            ดีขึ้น ได้แก่ จุดกดเจ็บบริเวณสัญญาณ 1-3 เข่า เข่า  ก็ช่วยลดการอักเสบของข้อ โดยเป็นผลจากฤทธิ์ของ
                                                                               [8]
            โก่ง ลูกสะบ้าฝืด มีเสียงดังในข้อเข่า และการตั้งขาชัน  ยาสมุนไพรที่อยู่ในยาพอกเข่า  การใช้หัตถการพอก
            เข่าชิดก้นไม่ได้ ส่วนอาการแสดงข้อเข่าผิดรูปในทั้ง 2   เข่าเสริมการรักษาจึงช่วยให้อาการแสดงของโรคดี

            กลุ่ม ก่อนและหลังรักษาไม่มีความแตกต่างกัน   ขึ้นด้วย สอดคล้องกับ ภรณี อัครสุต และคณะ  ที่
                                                                                            [14]
                 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ การตรวจทาง  ได้ศึกษาข้อมูลย้อนหลังในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม

            หัตถเวชกรรมโรคลมจับโปงแห้งเข่า ซึ่งแปลผลการ  เปรียบเทียบผลการรักษาระหว่างกลุ่มที่ได้รับการนวด
            ประเมินเป็นมีอาการแสดงและไม่มีอาการแสดง ผล  ประคบสมุนไพร และยาเถาวัลย์เปรียง (กลุ่มควบคุม)
            การศึกษาในครั้งนี้จึงระบุได้เพียงว่า หลังจากสิ้นสุด  กับกลุ่มที่รักษาด้วยการนวด ประคบสมุนไพร และ

            การรักษา กลุ่มตัวอย่างยังคงมีหรือไม่มีอาการแสดง   ยาพอกเข่าต�ารับยาจับโปงแห้งเข่า (กลุ่มทดลอง) เป็น
            ไม่สามารถบอกรายละเอียดได้ว่าอาการแสดงที่มีอยู่  เวลา 3 สัปดาห์ โดยพบว่า กลุ่มทดลองมีความปวด

            ลดลงในขนาดเท่าใด ซึ่งถือเป็นข้อจ�ากัดของการตรวจ  ลดลง ทั้งจากการประเมินด้วย VAS และ WOMAC
            ทางหัตถเวชกรรม อย่างไรก็ตามวิธีการตรวจทางหัตถ  และมีความสามารถในการใช้งานข้อเพิ่มมากขึ้น แตก
            เวชกรรมเพื่อวินิจฉัยโรคลมจับโปงแห้งเข่านี้มีความ  ต่างจากกลุ่มควบคุม (p < 0.05) โดยเห็นความแตก

            สัมพันธ์กับการวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อมในทางการ  ต่างตั้งแต่สัปดาห์ที่ 2 และการศึกษาของดลยา ถม
                                                                   [11]
                           [1]
            แพทย์แผนปัจจุบัน  ในการศึกษาต่อไปจึงควรมีการ  โพธิ์ และคณะ  ศึกษาโดยใช้การนวดกดจุด ประคบ
            เก็บข้อมูลทั้งผลการตรวจทางหัตถเวชกรรมและการ  สมุนไพร และพอกยาสมุนไพรที่ประกอบด้วย ไพล ขิง
            ตรวจประเมินที่เป็นสากล น�ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบ  และข่า หลังรักษาพบว่าอาการปวดข้อที่ประเมินด้วย
            กัน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาวิธีการตรวจทาง  WOMAC ลดลง (p < 0.001) จากคะแนน 5.46 ± 2.47
            หัตถเวชกรรมแผนไทยที่มีความละเอียดมากขึ้น และ  เป็น 2.57 ± 1.28 นอกจากนี้การศึกษาของ ปิยาภรณ์

                                                                  [17]
            เหมาะสมกับการใช้ทางคลินิกในการปฏิบัติงานจริง   พงษ์เกิดลาภ  ที่ศึกษาการรักษาแบบนวดราชส�านัก
                 เมื่อเปรียบเทียบอาการแสดงที่เปลี่ยนแปลง  ร่วมกับประคบสมุนไพร และพอกเข่า ท�าให้ผู้ป่วย

            ดีขึ้น ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า   ที่มีอาการแสดงของข้อเข่าเสื่อม มีระดับความปวด
            อาการแสดงจุดกดเจ็บบริเวณสัญญาณ 3 เข่า อาการ  ลดลง ระดับอาการแสดงข้อฝืดลดลง และระดับความ
            แสดงเข่าโก่ง และเขยื้อนข้อเข่ามีเสียงดัง มีสัดส่วน  สามารถในการใช้งานข้อดีขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยที่ได้
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75