Page 65 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 65
548 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
(1) คล�าหาจุดกดเจ็บบริเวณสัญญาณ 1, 2, จากหลายพื้นที่ (multi-setting study)
3 เข่า โดยใช้นิ้วมือกดบริเวณข้อเข่า หากมีอาการเจ็บ 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล หลังจากได้รับ
บริเวณใด ประเมินว่ามีจุดกดเจ็บ อนุมัติให้ด�าเนินโครงการวิจัย ผู้วิจัยได้อบรมแพทย์
(2) วัดความโก่งของเข่า โดยให้ผู้ป่วยนอน แผนไทยและผู้ช่วยแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ
หงาย ผู้ประเมินใช้มือหนึ่งจับเท้าทั้งสองข้างให้ชิด แพทย์แผนไทย 13 แห่งในจังหวัดล�าปาง เพื่อท�าหน้าที่
ติดกัน ฝ่าเท้าตั้งขึ้น จากนั้นใช้มืออีกข้างสอดใต้เข่า เป็นผู้ช่วยนักวิจัยในพื้นที่ โดยมีการอบรมเนื้อหา
หากสามารถสอดมือได้สะดวก ประเมินว่ามีอาการ เกี่ยวกับเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง การขอ
เข่าโก่ง ความยินยอมให้เข้าร่วมงานวิจัย การใช้เครื่องมือเก็บ
(3) คลอนลูกสะบ้าตรวจความฝืด โดยใช้มือ ข้อมูล ขั้นตอนและวิธีในการรักษา รวมถึงการจัดการ
จับบริเวณลูกสะบ้าขยับไปทางซ้ายและขวาเบา ๆ หาก ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เมื่อผู้ช่วยนักวิจัยในพื้นที่มี
ขยับได้เล็กน้อย เจ็บเสียว หรือขยับไม่ได้เลย ประเมิน ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน
ว่ามีอาการลูกสะบ้าฝืด แล้วจึงเริ่มด�าเนินการเก็บข้อมูล โดยแต่ละพื้นที่ได้
(4) เขยื้อนข้อเข่าฟังเสียงในข้อ โดยผู้ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ป่วยที่มีลักษณะตรงตาม
ประเมินใช้มือทั้ง 2 ข้างกุมรอบข้อเข่า ขยับขึ้นลง เกณฑ์เข้าร่วมโครงการวิจัย ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการ
สังเกตเสียงเส้นเอ็น หรือกระดูกเสียดสีกัน ประเมิน ตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรม และ
ว่ามีเสียงในข้อเข่า เก็บข้อมูลก่อนรักษา จากนั้นจึงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดย
(5) ตั้งขาชันเข่าชิดก้น โดยผู้ประเมินจับขา กลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมการรักษาตามเวชปฏิบัติ
ของผู้ป่วยงอขึ้น ดันให้ส้นเท้าเข้าไปติดชิดก้นย้อย ประกอบด้วยการนวด และการประคบสมุนไพร ใช้
หากไม่สามารถท�าได้ หรือมีอาการปวดมากขณะท�า เวลาครั้งละ 45 นาที กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการ
ประเมินว่ามีอาการแสดง รักษาตามเวชปฏิบัติ และเสริมด้วยการพอกเข่าด้วย
(6) ดูสภาพข้อเข่าผิดรูป โดยสังเกตบริเวณ ยาสมุนไพรสูตรล�าปางโมเดล ใช้เวลาครั้งละ 1 ชั่วโมง
ข้อเข่า หากมีอาการเข่าบวม หรือปุ่มกระดูกยื่นออกมา 5 นาที ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยเป็นผู้ท�าหัตถการภายใต้
ประเมินว่ามีอาการแสดง การก�ากับของแพทย์แผนไทย เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมการ
ในการประเมินทั้ง 6 รายการ ตรวจประเมินทั้ง รักษาทั้ง 5 ครั้ง แพทย์แผนไทยประเมินผลหลังการ
2 ข้าง หากผู้ป่วยมีอาการแสดงข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง รักษา และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนน�า
2 ข้าง บันทึกผลว่ามีอาการแสดง ไปวิเคราะห์
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลพื้นฐานของ
2. วิธีกำรศึกษำ กลุ่มตัวอย่างวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา น�าเสนอ
การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi– เป็นค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
experimental research) แบบมีกลุ่มทดลองและ มาตรฐาน เปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล และ
กลุ่มควบคุม วัดผลก่อนและหลังทดลอง (pretest- อาการแสดงก่อนการรักษาของทั้งสองกลุ่มโดยใช้
posttest design with control group) เก็บข้อมูล สถิติ chi-square test, independent t-test และ