Page 63 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 63
546 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
Score) เป็นเครื่องมือประเมินประสิทธิผลการรักษา จังหวัดล�าปาง ช่วงเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2564
แต่ยังไม่มีการรายงานเกี่ยวกับอาการทางคลินิกที่ เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย (simple
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็นเครื่องมือหลักที่แพทย์แผน random sampling) ตามเกณฑ์การคัดเลือก คือ
ไทยใช้ในการตรวจประเมินโรคทางหัตถเวชกรรม 1) มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป 2) มีอาการปวดเข่า 3) มี
จังหวัดล�าปางได้สนับสนุนให้มีการจัดบริการพอก อาการเข่าติด เข่าโก่ง นั่งยอง ๆ ไม่ได้ มีเสียงในข้อเข่า
เข่าด้วยยาพอกเข่าสูตรล�าปางโมเดลแก่ผู้ป่วยในทุก อย่างใดอย่างหนึ่ง 4) ไม่มีประวัติการแพ้สมุนไพร และ
หน่วยบริการ จึงมีความจ�าเป็นที่ต้องศึกษาประสิทธิผล 5) มีความยินดีเข้าร่วมการวิจัย เกณฑ์การคัดออก คือ
ของการรักษาต่ออาการแสดงของโรค และเปรียบ 1) มีกระดูกแตก ร้าว บริเวณข้อเข่า 2) เคยผ่าตัด
เทียบกับผลการรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติในภาพ เปลี่ยนข้อเข่า 3) ใช้ยาระงับปวด 4) อยู่ในระยะอักเสบ
รวมทั้งจังหวัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการรักษา มีอาการปวด บวม แดง ร้อนมาก 5) มีแผลเปิดหรือเป็น
ด้วยการเสริมหัตถการพอกเข่าด้วยยาสมุนไพรพอก โรคผิวหนังที่มีข้อห้ามในการพอก และ 6) ไม่สามารถ
เข่าสูตรล�าปางโมเดล และส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร มารับการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง แบ่งกลุ่มตัวอย่างออก
ในพื้นที่ต่อไป เป็น 2 กลุ่มโดยให้กลุ่มตัวอย่างเลือกรับการรักษาโดย
สมัครใจ
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ ใช้การเก็บข้อมูลแบบหลายพื้นที่ (multi-set-
1. เพื่อศึกษาอาการแสดงตามหลักการตรวจ ting study) ก�าหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม
ทางหัตถเวชกรรมแผนไทยของผู้ป่วยโรคลมจับโปง G*power เลือกการค�านวณขนาดตัวอย่างส�าหรับ
[19]
แห้งเข่า ได้แก่ จุดกดเจ็บ ความโก่งของเข่า ความฝืด สถิติ Fisher’s exact test อ้างอิงค่าสัดส่วนประชากร
[11]
ของลูกสะบ้า เสียงในข้อเข่า การงอพับเข่า และสภาพ จากการศึกษาของ ดลยา ถมโพธิ์ และคณะ ซึ่งมี
ข้อเข่า ก่อนและหลังการรักษา สัดส่วนอาการข้อฝืดตึงที่ 0.66 ในกลุ่มทดลอง และ
2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการรักษาโรค 0.81 ในกลุ่มควบคุม ก�าหนดค่าก�าลังการทดสอบ
ลมจับโปงแห้งเข่าระหว่างการรักษาโดยเสริมการพอก (power) ที่ 0.95 และระดับนัยส�าคัญ 0.05 ได้ขนาด
ยาสมุนไพรสูตรล�าปางโมเดล กับการรักษาด้วยวิธี ตัวอย่างกลุ่มละ 234 คน เพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างอีก
นวด ประคบสมุนไพรแบบปกติ ร้อยละ 20 เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล เป็น 280
คน เมื่อสิ้นสุดการวิจัยเหลือกลุ่มทดลอง 277 คน และ
ระเบียบวิธีศึกษำ กลุ่มควบคุม 261 คน เนื่องจากจ�านวนหนึ่งไม่สามารถ
ติดตามได้ครบโปรแกรมการรักษา (Figure 1)
1. วัสดุ การศึกษานี้ด�าเนินการภายใต้หลักจริยธรรม
1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ป่วยโรค การวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ ซึ่งผ่านการรับรองจากคณะ
ลมจับโปงแห้งเข่าที่มารับบริการแพทย์แผนไทย ณ กรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ วิทยาลัย
โรงพยาบาลล�าปางและโรงพยาบาลชุมชน 12 แห่ง ใน พยาบาลบรมราชชนนี นครล�าปาง เลขที่โครงการวิจัย