Page 57 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 57

540 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           P-Value = 0.070) อีกทั้งผลการศึกษาปริมาณไวรัส   ทะลายโจรและยาฟาวิพิราเวียร์พบว่าไม่มีความแตก
           (viral load) ปริมาณไวรัส โดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง  ต่างกันต่อการท�างานของไตและภาวะตับอักเสบ

           ทั้ง 3 กลุ่ม ในวันที่ 1, 5 และ 10 มีปริมาณไวรัสแตกต่าง  สอดคล้องกับการศึกษา การใช้ฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วย
           กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ  แต่เมื่อท�าการทดสอบ  โรคโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรงน้อยและไม่มีภาวะปอด
           ความแตกต่างทางสถิติของปริมาณไวรัส (viral load)   อักเสบ ร่วมด้วย 57 ราย ประเมินผลวันที่ 5 หลังรับ

           ที่ลดลงจากผลการติดตามในวันที่ 5 และวันที่ 10 ของ  การรักษา พบว่าการใช้ฟ้าทะลายโจรร่วมด้วยช่วยลด
           กลุ่มผู้ป่วยทั้ง 3 กลุ่ม ไม่พบความแตกต่างกันอย่าง  ระยะเวลาและความรุนแรงของอาการแสดงโควิด-19
           มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้แตกต่างจาก  ได้ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการรักษามาตรฐานเพียงอย่าง

                                                           [14]
           การศึกษาประสิทธิผลของสมุนไพรในผู้ต้องขังเรือน  เดียว  และมีการศึกษาพบว่าอาการไม่พึงประสงค์ที่
           จ�าคลองเปรมที่ติดเชื้อโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรง  รุนแรงของฟ้าทะลายโจรเกิดขึ้นน้อยมาก (< 1/10000)
           น้อย ในกลุ่มที่ได้ฟ้าทะลายโจรและกระชายขาวและ  โดยทั่วไปจะเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร และ

           ยาฟาวิพิราเวียร์โดยศึกษาผลลัพธ์ระยะมัธยฐานของ  ระบบผิวหนัง  แตกต่างจากการศึกษาที่พบรายงาน
                                                                 [15]
           เวลาการตรวจไม่พบเชื้อ ผลปรากฏว่าฟ้าทะลายโจร   ท�าให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ได้ พบว่าผู้ป่วยที่ได้

           กระชายขาวใช้เวลา 8 และ 9 วัน ตามล�าดับ สั้นกว่า ยา  รับฟ้าทะลายโจร มีค่ามัธยฐานของอะลานีนอะมิโน
           ฟาวิพิราเวียร์ ใช้เวลาถึง 13 วันในการตรวจไม่พบเชื้อ   ทรานสเฟอเรส (ALT) เปลี่ยนไปเมื่อเทียบกับครั้งก่อน
           โดยไม่พบผู้ติดเชื้อปอดอักเสบ และไม่มีผลแทรกซ้อน  รับประทานยา อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p = 0.029)

               [10]
           ใด ๆ   และยังต่างจากงานวิจัยสุ่มตัวอย่างแบ่ง  และผู้ป่วยร้อยละ 44.5 มี ALT เพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่า
           กลุ่มเปรียบเทียบ  ใช้ผู้ป่วย 57 คน สุ่มตัวอย่างแบ่ง  ซึ่งผู้ป่วยที่มีโรคไขมันพอกตับจากแอลกอฮอล์และ

           ออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งให้กินฟ้าทะลายโจร ซึ่งมี   ผู้ป่วยที่มีดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้นมีความเสี่ยงการท�างาน
           แอนโดรกราโฟไลด์ 180 มก.ต่อวันนาน 5 วัน อีกกลุ่ม  ของตับ เพิ่มจากการรับประทานยาฟ้าทะลายโจร 2.32
           หนึ่ง 28 คน ให้ยาหลอก พบว่ากลุ่มกินฟ้าทะลายโจร  เท่า (aOR 2.37, 95%CI 1.01, 5.54, p = 0.046) [16]

                              [11]
           เกิดปอดอักเสบน้อยกว่า   แต่ทั้งนี้เนื่องจากยังมีการ  แตกต่างจากการศึกษาที่ท�าการศึกษาย้อนหลังการใช้
           รายงานวิจัยแบบ RCT ระหว่างฟ้าทะลายโจรและยา  ฟ้าทะลายโจร ในผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ที่มีอาการ
           ฟาวิพิราเวียร์ ไม่มากนัก และงานวิจัยครั้งนี้นี้ไม่ได้รับ  รุนแรงน้อยและไม่มีภาวะปอดอักเสบ 605 ราย พบ

           อนุญาติให้ใช้ยาหลอก                         ว่าเมื่อรักษาครบ 5 วัน ผู้ป่วยที่ได้รับฟ้าทะลายโจร
                2. ในส่วนการเปรียบเทียบผงบดจากส่วน     ไม่มีความสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงการเกิดภาวะ
           เหนือดินของฟ้าทะลายโจรมีประสิทธิผลในการรักษา   ปอดอักเสบในผู้ป่วยติดเชื้อ โควิด-19 ที่มีอาการ

           โควิด-19 ระยะเริ่มติดเชื้อแตกต่างผงบดจากส่วนของ  รุนแรงน้อย
                                                                [17]
           ใบ ในขนาดแอนโดรกราโฟไลด์ที่เท่ากันก็ไม่พบความ     เนื่องด้วยช่วงเวลาที่ท�าการศึกษานี้เป็นช่วงเดือน

           แตกต่างเช่นกัน                              พฤศจิกายน 2564 เชื้อซาร์ส-โควี-2 ได้เปลี่ยนสาย
                3. จากการศึกษานี้ความปลอดภัยการใช้ฟ้า  พันธุ์จากสายพันธุ์เดลต้าซึ่งก่อให้เกิดปอดอักเสบสูง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62