Page 66 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 66

498 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           รายงานว่าในปี พ.ศ. 2562 มะเร็งทุกชนิดเป็นสาเหตุ  ระหว่างแพทย์แผนไทยและทีมสหวิชาชีพ การทำางาน
                                       [3]
           การตายที่สำาคัญของประชากรไทย  ผู้ป่วยมะเร็ง  ที่ขาดการมีส่วนร่วมจึงส่งผลกระทบต่อแนวทางการ
           ระยะสุดท้ายจะพบการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ    ดูแลรักษาผู้ป่วย ผลกระทบที่ตกสู่ผู้ป่วยคือ ผู้ป่วยได้
           ต่อสุขภาพหลายด้าน เช่น ทุกข์ทรมาน จากความเจ็บปวด    รับบริการดูแลรักษาที่ขาดมาตรฐาน สุขภาพประชาชน
           กระวนกระวาย ซึมเศร้า หายใจลำาบาก ท้องผูก    ยังเจ็บป่วยเช่นเดิมและไม่ตอบสนองรัฐบาลมีนโยบาย

                                         [4]
           และอาการไม่สุขสบายอื่น ๆ เป็นต้น  ระบบการ   ที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น โดย
           ดูแลรักษาในสถานบริการสุขภาพของประเทศไทย     ส่งเสริมและสนับสนุนให้นำาการแพทย์แผนไทยมา
           ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลโดยถูกจัดลำาดับ  ใช้ในระบบบริการสาธารณสุข  มีการบูรณการการ
                                                                              [12]
           ความสำาคัญอยู่ในลำาดับท้าย ๆ ทำาให้ได้รับการดูแล  แพทย์แผนไทยและยาสมุนไพรในการดูแลรักษา
                             [5-6]
           ไม่ทั่วถึงและครอบคลุม  และเนื่องจากนโยบายของ   ผู้ป่วยมะเร็ง และส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ
                                                                                 [13]
           กระทรวงสาธารณสุขและระบบบริการที่ไม่สามารถ   สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย อย่างไรก็ตาม
           รองรับผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายให้อยู่ในโรงพยาบาล  โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยยังไม่มีรูปแบบการให้
           ได้เพราะมีเตียงจำากัด ทำาให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความจำาเป็น  บริการการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งด้วยการแพทย์แผน

           ต้องถูกจำาหน่ายออกจากโรงพยาบาล และกลับไปดูแล  ไทยอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล
           ต่อที่บ้านจนถึงวาระสุดท้าย [7]              ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ แนวทางการดูแลรักษา
                ปัจจุบันสถานบริการสาธารณสุขของรัฐมีการ   ผู้ป่วยมะเร็งยังไม่ชัดเจน บุคลากรด้านการแพทย์

           บูรณาการการแพทย์แผนไทยกับการแพทย์แผน        แผนไทย ผู้ให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ยังขาด
                  [8]
           ปัจจุบัน  กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์      ความเชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ตำารับ
           ทางเลือกได้จัดตั้งโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยใน  ยาแผนไทยมีข้อมูลวิชาการเพื่อสนับสนุนผลการรักษา
           สถานบริการสาธารณสุขของรัฐขึ้น ด้วยเหตุนี้โรง  น้อย จากการทบทวนวรรณกรรมไม่พบการศึกษารูป
                                      [9]
           พยาบาลการแพทย์แผนไทยได้มีภารกิจและบทบาท     แบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการ

           เข้ามาดูแลผู้ป่วยด้วยการแพทย์แผนไทยมากขึ้น  แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
           โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย มีการจัดทำา     โรคมะเร็งถือว่าเป็นโรคที่มีความสำาคัญที่พบ
                         [10]
           แนวทางเวชปฏิบัติ  แต่จากรายงานประเมินผลการ  ได้บ่อยในประชากรทั่วโลกและเป็นสาเหตุที่ทำาให้
           ตรวจราชการกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์      ผู้ป่วยเสียชีวิตได้มากที่สุดโรคหนึ่ง ด้วยเหตุผล
           ทางเลือก พบว่า การให้บริการดูแลผู้ป่วยมะเร็งด้วย  ดังกล่าวจึงทำาให้การศึกษาในครั้งนี้เห็นความสำาคัญ
           การแพทย์แผนไทยยังไม่มีความชัดเจน แพทย์แผน   ของการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ

           ไทยที่ให้บริการยังขาดความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วย  สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลการ
           มะเร็ง ไม่กล้าสั่งใช้ยาแผนไทยและยาสมุนไพร และ  แพทย์แผนไทยและต้องการวัดประสิทธิผลของ

           การให้ความร่วมมือระหว่างแพทย์แผนไทยและทีม   รูปแบบการดูแลรักษาตามบริบทของโรงพยาบาลการ
           สหวิชาวิชาชีพยังมีน้อย ทำาให้การดูแลรักษาผู้ป่วย  แพทย์แผนไทย เพื่อประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
                             [11]
           ขาดความต่อเนื่องและมีปัญหาด้านการส่งต่อข้อมูล  ด้วยการแพทย์แผนไทยต่อไป
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71