Page 61 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 61
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 493
้
จากการสังเกตข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ พบ ศึกษาระบุว่ามีผลลดระดับนำาตาลในเลือดได้ ที่เหลือ
ว่ายาสมุนไพรมธุรเมหะ สามารถลดระดับ HbA1c น่าจะมีเพื่อปรับสมดุลของธาตุในร่างกาย ทำาให้
ได้ดีในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่อายุน้อยรูปร่างค่อนข้าง ปริมาณยาที่รับประทานจะมากกว่าปกติ
อ้วน (BMI > 30) และระดับ HbA1c ก่อนการรักษา ในขณะที่กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่รักษา
ค่อนข้างสูง แม้ข้อมูลผลการศึกษาวิจัยด้านเภสัช ด้วยยา metformin ร่วมกับการให้คำาแนะนำาตาม
จลนศาสตร์ของยาตำารับมธุระเมหะทั้งตำารับ ยังไม่มี มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานพบระดับของ cho-
รายงานแน่ชัดถึงสรรพคุณการออกฤทธิ์ของยา แต่ lesterol และ LDL ก่อนและหลังการรับยามีผลลด
สามารถใช้ข้อมูลข้างต้นในการประกอบการพิจารณา ลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)
รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ได้ ซึ่งผล ทั้งนี้เนื่องจากยา metformin เป็นยากลุ่มไบกัวไนด์
การรักษาก็มีลักษณะใกล้เคียงกับผู้ป่วยเบาหวาน (biguanide) หรือ “insulin sensitizer’’ มีกลไกหลัก
้
ที่รักษาด้วยยาแผนปัจจุบัน metformin จึงทำาให้ ในการออกฤทธิ์คือ ลดการสร้างนำาตาลที่ตับ (hepatic
้
สามารถนำายาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะ มาใช้รักษา gluconeogenesis) และช่วยลดการดูดซึมนำาตาลจาก
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ทดแทนได้เช่น ลำาไส้ อีกทั้งยังสามารถลดระดับ Free Fatty Acid ใน
เดียวกัน เลือด ทำาให้พบระดับไขมันของผู้เข้าร่วมวิจัยลดลง
[23]
ยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานตำารับมธุรเมหะ ด้วย
้
จากผลการศึกษานี้พบว่าสามารถลดระดับนำาตาลใน ปัจจุบันแพทย์ในโรงพยาบาลจะเริ่มรักษาผู้ป่วย
เลือดลงได้ แม้จะไม่สามารถลดลงได้อย่างมีนัยสำาคัญ เบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ ด้วยยา metformin ตาม
ทางสถิติก็ตาม อาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น ปริมาณ แนวทางการรักษาโรคเบาหวาน ปี 2560 ของสมาคม
ยามธุรเมหะที่ผู้ป่วยได้รับ ในการศึกษาครั้งนี้มีการ โรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ทำาให้การรักษาด้วยยา
กำาหนดให้ผู้ป่วยรับประทาน 2 เม็ดเช้า 2 เม็ดเย็น สมุนไพรจึงยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายมากเท่าใดนัก
หรือเท่ากับ 1,200 มิลลิกรัมซึ่งสามารถปรับเพิ่มได้อีก แต่หากมีการศึกษาวิจัยที่เป็นที่ยอมรับและรู้จักมาก
จนถึง 2,700 มิลลิกรัม จากการทบทวนวรรณกรรม ขึ้นแล้ว อนาคตยาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะ ก็น่าจะ
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรง ยังไม่การศึกษาวิจัย เป็นอีกทางเลือกให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา metfor
เกี่ยวกับปริมาณยาที่เหมาะสมในการรักษาว่าควรเป็น minในการรักษาได้หรืออาจใช้ยามธุรเมหะควบคู่กัน
เท่าไร พบเฉพาะการศึกษาของ กรมการแพทย์แผน กับ metformin แทนยากลุ่ม sulfonylurea ได้ และ
้
ไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดทำาโครงการเฝ้าระวัง ยังสามารถลดความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนำาตาลในเลือด
่
ความปลอดภัยในการใช้ยาจากสมุนไพร ที่กล่าว ตำากว่าปกติได้อีกด้วย
[22]
ถึงขนาดยาที่เหมาะสมในการใช้รักษาด้วยยาตำารับ
มธุรเมหะไว้ อาจขึ้นอยู่กับระดับน้ำาตาลของผู้ป่วยเอง ข้อสรุป
เป็นสำาคัญ อีกเหตุผลหนึ่งน่าจะเกี่ยวกับยาตำารับมธุร การเปรียบเทียบประสิทธิผลของตำารับยามธุร
เมหะเนื่องจากเป็นยาตำารับที่ประกอบด้วยสมุนไพร เมหะกับยาแผนปัจจุบัน metformin ในการรักษา
ทั้งหมด 26 ชนิด มีเพียง 13 ชนิดเท่านั้นที่มีผลการ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ ควบคู่กับการให้