Page 60 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 60
492 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ตารางที่ 11 ร้อยละจำานวนผู้เข้าร่วมวิจัยที่เกิด ADR เบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ที่เข้ามารับการรักษาที่โรง
หลังจากรับประทานยามธุรเมหะและยา พยาบาลวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว เป็นระยะเวลา
metformin 6 เดือน พบว่ากลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับวิธี
เกิด ADR ไม่เกิด ADR การรักษาด้วยยาสมุนไพรตำารับมธุระเมหะร่วมกับการ
ยาที่ได้รับ จำานวน จำานวน ให้คำาแนะนำาตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
ระดับของ FBS, HbA1c หลังการรับยาสมุนไพรตำารับ
มธุรเมหะ 3 (3.52) 80 (94.12) มธุระเมหะมีค่าลดลง แม้ว่าจะไม่มีความแตกต่างกัน
metformin 6 (7.59) 79 (92.41)
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p > 0.05) ก็ตาม จากผล
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์หลังใช้ยาทั้ง 2 ชนิด พบ
สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยค่าร้อยละการลดลง ว่าผู้ป่วยที่รับประทานยาสมุนไพรตำารับมธุระเมหะ มี
ของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยา metformin มีมากกว่า อาการไม่พึงประสงค์จากยาน้อยกว่าค่อนข้างชัดเจน
ดังตารางที่ 10 จากมาตรฐานการรักษาโรคแบบหวานชนิดที่ 2 ใน
้
จากการเก็บข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จาก ผู้ป่วยที่ระดับนำาตาลเริ่มต้น < 220 มก./ดล. แนะนำา
ยา ในผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับประทานยามธุรเมหะและยา ให้เริ่มจากการใช้ยาเพียงชนิดเดียวก่อน ยาสมุนไพร
metformin พบอาการผิดปกติร้อยละ 3.52 ในกลุ่ม ตำารับมธุรเมหะน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีสำาหรับผู้ป่วย
ที่รับประทานยามธุรเมหะ และร้อยละ 7.59 ในกลุ่มที่ เบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่
รับประทานยา metformin ในรายที่ได้รับยามธุรเมหะ จากผลการศึกษาในผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับประทาน
พบ อาการแน่นท้อง (dyspepsia) 1 ราย และอาการ ยาสมุนไพรมธุรเมหะครั้งนี้ ไม่พบค่าการทำางานของ
ปวดศีรษะ (headache) อีก 1 ราย ในส่วนยา met- ตับและไตเช่น BUN, creatinine, AST, ALT และ
formin พบว่า 2 รายมีอาการ จุกเสียด (dyspepsia) ALP มีค่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ร่วมกับอาการท้องเสีย (diarrhea) อีก 4 รายพบภาวะ (p < 0.05) ตลอดระยะเวลาที่ดำาเนินการศึกษาวิจัย 6
เลือดเป็นกรดเล็กน้อย (metformin associated เดือน แต่ยังอาจยังไม่สามารถสรุปได้ชัดเจนว่า หาก
lactic acidosis) อย่างไรก็ตามอาการไม่พึงประสงค์ รับประทานยาสมุนไพรชนิดนี้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ที่เกิดขึ้นอยู่ในประเภทไม่ร้ายแรง (not-serious) ดัง จะมีผลต่ออวัยวะสำาคัญในร่างกายหรือไม่ จากการ
แสดงในตารางที่ 11 ศึกษาที่มีก่อนหน้านี้ของภริตา เพิ่มผล (2558) ไม่
[21]
พบว่ายามธุรเมหะมีผลอันตรายต่อตับและไตแม้
อภิปร�ยผล รับประทานยาติดต่อกัน 2 ปีแล้วก็ตาม ในส่วนของ
จากผลการศึกษาการเปรียบเทียบผลของยา ผู้ป่วยที่รับประทานยาแผนปัจจุบัน metformin นั้น
สมุนไพรตำารับมธุรเมหะกับยาแผนปัจจุบัน metfor- ผลต่อการทำางานของตับและไต ก่อนและหลังการ
้
min ที่มีผลต่อการลดระดับนำาตาลในเลือด ผลข้าง ศึกษาไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญเช่น
เคียงในด้านการทำางานของตับและไตระดับไขมัน เดียวกัน แต่ในส่วนอาการไม่พึงประสงค์ พบผู้ป่วย
ในเลือดและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อื่นในผู้ป่วย หลายคนมีภาวะเลือดเป็นกรดเล็กน้อย