Page 59 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 59
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 491
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) คือ FBS (-8.54 ± 23.18),
ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่รับประทานยา metformin cholesterol (-6.54 ± 19.67)และ LDL (-10.55 ±
เพียงกลุ่มเดียว ดังแสดงในตารางที่ 9 33.55)
จากนั้นทำาการเปรียบเทียบร้อยละการ เมื่อเปรียบเทียบผลของการรักษาโดยการใช้ยา
เปลี่ยนแปลงของค่าผลตรวจจากห้องปฏิบัติการทุก สมุนไพรมธุรเมหะ และ metformin โดยพิจารณา
ตัวแปรที่ทำาการศึกษาของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับการ เปรียบเทียบจากร้อยละการเปลี่ยนแปลงของค่าผล
metformin ประกอบด้วย FBS, HbA1c, BUN, ตรวจจากห้องปฏิบัติการทุกตัวแปรที่ทำาการศึกษา
creatinine, cholesterol, HDL, LDL, triglyceride โดยใช้การวิเคราะห์แบบ One-Way ANOVA พบว่า
และ urine โดยใช้การวิเคราะห์แบบ paired samples ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาต่างกันมีค่าร้อยละการลดลง
t-test พบว่าตัวแปรที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัย ของ cholesterol และ LDL แตกต่างกันอย่างมีนัย
ตารางที่ 9 การเปลี่ยนแปลงของค่า FBS และ HbA1c ทั้ง 3 ครั้ง ของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยามธุรเมหะ และ metformin
ครั้งที่ มธุรเมหะ metformin
FBS (มก./ดล.) HbA1c (%) FBS (มก./ดล.) HbA1c (%)
ครั้งที่ 1 (average ± S.D.) 150.50 ± 22.39 7.38 ± 1.27 166.03 ± 38.05 7.36 ± 1.90
ครั้งที่ 2 (average ± S.D.) 135.83 ± 22.67 7.02 ± 0.85 140 ± 24.49 7 ± 1.12
ครั้งที่ 3 (average ± S.D.) 147.83 ± 29.92 7.55 ± 1.50 146 ± 30.04 7 ± 1.54
P value 0.19 0.49 0.00 0.01
ตารางที่ 10 ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของค่าผลตรวจจากห้องปฏิบัติการของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาสมุนไพรตำารับ
มธุรเมหะ และ metformin
ตัวแปร สมุนไพรตำารับมธุรเมหะ metformin P value
(average ± S.D.) (average ± S.D.) (One-Way ANOVA, 95%)
FBS -1.24 ± 15.70 -8.54 ± 23.18 0.25
HbA1c -4.67 ± 30.31 -3.90 ± 31.70 0.92
BUN 3.59 ± 29.37 12.63 ± 47.21 0.45
Creatinine 4.28 ± 32.01 4.96 ± 25.12 0.92
Cholesterol 8.35 ± 24.87 -6.54 ± 19.67 0.01
HDL 8.03 ± 22.00 8.43 ± 36.56 0.97
LDL 22.56 ± 48.86 -10.55 ± 33.55 0.00
Triglyceride 15.36 ± 57.65 16.58 ± 62.20 0.94
Urine 137.06 ± 358.94 208.18 ± 625.16 0.67